Publication: ปัจจัยที่สัมพันธ์กับสุขภาวะทางจิตใจของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
dc.contributor.author | ฐินีรัตน์ ถาวร | en_US |
dc.contributor.author | Thineerat Thavorn | en_US |
dc.contributor.author | สาธกา พิมพ์รุณ | en_US |
dc.contributor.author | Sathaka Pimroon | en_US |
dc.contributor.author | วารีรัตน์ ถาน้อย | en_US |
dc.contributor.author | Wareerat Thanoi | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-06-28T09:20:33Z | |
dc.date.available | 2019-06-28T09:20:33Z | |
dc.date.created | 2562-06-28 | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์:เพื่อศึกษาสุขภาวะทางจิตใจ และความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ เพศ ผลการศึกษา ความพึงพอใจของรายได้ และความเพียงพอของรายได้ กับสุขภาวะทางจิตใจในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย รูปแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงความสัมพันธ์ วิธีดําเนินการวิจัย:นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายจําานวน 624 คน ถูกคัดเลือกจากโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพฯ และจังหวัดนครปฐม เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และแบบวัดสุขภาวะทางจิตใจ จํานวน 18 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัย:ผลการศึกษาพบว่านักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายมีระดับการรับรู้สุขภาวะทางจิตใจ อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 73.18, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 9.05) ด้านความเป็นตัวของตัวเองมีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด(ค่าเฉลี่ย = 11.3, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 1.96) และด้านการเติบโตส่วนบุคคล มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย = 13.73, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 2.34) และจากการศึกษาความสัมพันธ์พบว่า อายุ ผลการศึกษา ความพึงพอใจของรายได้ และความเพียงพอของรายได้มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการรับรู้สุขภาวะทางจิตใจที่ระดับนัยสําคัญ .05 สรุปและข้อเสนอแนะ:จากผลการวิจัยพบว่า สุขภาวะทางจิตใจของนักเรียนมัธยมศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง โดย อายุ ผลการศึกษา ความพึงพอใจของรายได้ และความเพียงพอของรายได้มีความสัมพันธ์กับสุขภาวะทางจิตใจ ซึ่งผลการวิจัยสามารถนําไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตใจให้กับวัยรุ่นที่กําลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษาโดยคํานึงถึงความสําคัญของปัจจัยส่วนบุคคล ซึ่งถือเป็นการส่งเสริมสุขภาพจิตในวัยรุ่นและเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนางานวิจัยเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตใจที่ดีในวัยรุ่นต่อไป | en_US |
dc.description.abstract | Purpose: To identify the psychological well-being and the relationship between personal factors: age, sex, GPA, sufficient income, satisfaction of income and psychological well-being of secondary school students. Design: Correlational study design. Methods: The 624 high school students were sampling from schools in Bangkok and Nakorn Pathom province, Thailand. The research instruments including personal information and 18-item Psychological Well-being Scale. Data analyses involved descriptive statistics and Pearson correlation. Main Findings: The high school students reported moderate level of psychological well-being (gif.latex?\bar{X} = 73.18, SD = 9.05). Autonomy revealed the lowest mean score (gif.latex?\bar{X} = 11.31, SD = 1.96) and personal growth revealed the highest mean score (gif.latex?\bar{X} = 13.73, SD = 2.34). Age, GPA, satisfaction of income, sufficient income were significantly correlated with psychological well-being at significance level of .05. Conclusion and recommendations: The findings of this study indicated that the psychological well-being of the secondary school students was in moderate level. Age, GPA, satisfaction with income, and sufficient income were correlated with psychological well-being. These findings could use as the basic knowledge to provide the mental health promotion for psychological well-being of adolescents in secondary school with the concern of their demographic factors. In addition, the findings also provide the fundamental knowledge for further research to promote psychological well-being in adolescent. | en_US |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยได้รับทุนจากเงินกองทุน ซี.เอ็ม.บี. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 36, ฉบับที่ 3 (ก.ค. - ก.ย. 2561), 59-70 | en_US |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44206 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | สุขภาวะจิตใจ | en_US |
dc.subject | นักเรียน | en_US |
dc.subject | psychological well-being | en_US |
dc.subject | students | en_US |
dc.subject | Journal of Nursing Science | en_US |
dc.subject | วารสารพยาบาลศาสตร์ | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่สัมพันธ์กับสุขภาวะทางจิตใจของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย | en_US |
dc.title.alternative | Correlated Factors of Psychological Well-Being among High School Students | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://www.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/146982/108306 |