Publication:
การประมาณเวลาตายในเวชปฏิบัติ

dc.contributor.authorสุภาวรรณ เศรษฐบรรจงen_US
dc.contributor.authorSupawon Srettabunjongen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ภาควิชานิติเวชศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2022-09-22T06:15:51Z
dc.date.available2022-09-22T06:15:51Z
dc.date.created2565-09-22
dc.date.issued2559
dc.description.abstractการระบุระยะเวลาภายหลังตายเป็นวัตถุประสงค์สำคัญข้อหนึ่งของการชันสูตรพลิกศพ ซึ่งมีความสำคัญทั้งในคดีอาญาและคดีแพ่ง โดยภายหลังตายร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงทางฟิสิกส์และทางเคมีหลายอย่างตามระยะเวลาภายหลังตายจนกระทั่งศพเน่าเปื่อยแตกสลายและกลายสภาพเป็นฟอสซิล การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวขึ้นอยู่กับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับระยะเวลาและอัตราการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว การเปลี่ยนแปลงภายหลังการตายเหล่านั้นอยู่ภายใต้อิทธิพลของปัจจัยภายในซึ่งอาจไม่สามารถคาดคะเนได้และปัจจัยภายนอกที่มีอุณหภูมิของสภาพแวดล้อมเป็นปัจจัยหลัก การประมาณเวลาตายให้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากที่สุดจึงอาศัยการประเมินลักษณะการเปลี่ยนแปลงภายหลังตายหลายอย่างร่วมกัน เช่น ปฏิกิริยาเหนือชีวิต การเย็นตัวของศพ การตกสู่เบื้องต่ำของเลือด การแข็งตัวของศพ การเน่า เป็นต้น การระบุระยะเวลาภายหลังตายจะมีช่วงกว้างและไม่น่าเชื่อถือหากระยะเวลาภายหลังตายนานขึ้น จึงต้องใช้ประกอบกับข้อมูลจากพยานแวดล้อมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการตายในรายนั้นๆ และใช้ตรรกศาสตร์ในการประเมินและสรุปความเห็นเกี่ยวกับเวลาตายจากข้อมูลเหล่านั้นทั้งหมดen_US
dc.description.abstractEstimation of time since death is one of the most important purposes of postmortem inquest and its significance is addressed either in criminal or civil cases. After death, a human body has gradual physical and chemical changes over time until becoming fossils. Such changes depend on their duration and change rates which are under various factors. Internal factors may not be predicted whereas external factors have environmental temperature as a major factor. In order to estimate the time since death as close as to the time when the death really occur, such postmortem changes including supravital reactions, algor mortis, livor mortis, rigor mortis an decomposition, should be taken into consideration as much as possible. The more the time since death pass by, the more inaccuracy and the wider range of the estimated time occur, thus necessitating the indirect evidence and logical reasons for helping in evaluation all available data and making a conclusion about the time since death.en_US
dc.identifier.citationรามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 39, ฉบับที่ 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2559), 225-233en_US
dc.identifier.issn0125-3611 (Print)
dc.identifier.issn2651-0561 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79612
dc.language.isoengen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderภาควิชานิติเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการประมาณเวลาตายen_US
dc.subjectการเปลี่ยนแปลงภายหลังตายen_US
dc.subjectการชันสูตรพลิกศพen_US
dc.subjectการสอบสวนการตายen_US
dc.titleการประมาณเวลาตายในเวชปฏิบัติen_US
dc.title.alternativeEstimation of Time Since Death in Medical Practiceen_US
dc.typeOriginal Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/ramajournal/article/view/80049/63848en_US

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
si-ar-supawon-2559.pdf
Size:
2.45 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections