Publication:
การประเมินสมรรถนะหลักในการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานของบุคลากรทางการแพทย์ ประจำสถานบริการสุขภาพภาครัฐ จังหวัดชลบุรี

dc.contributor.authorเสาวนิตย์ แพงโพธิ์en_US
dc.contributor.authorประสิทธิ์ ลีระพันธ์en_US
dc.contributor.authorธราดล เก่งการพานิชen_US
dc.contributor.authorมลินี สมภพเจริญen_US
dc.contributor.authorSaowanit Phaengphoeen_US
dc.contributor.authorPrasit Leerapanen_US
dc.contributor.authorTharadol Kengganpanichen_US
dc.contributor.authorMalinee Sompopcharoenen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์en_US
dc.contributor.otherโรงพยาบาลค่ายนวมินทราชินี จังหวัดชลบุรีen_US
dc.date.accessioned2021-08-20T03:30:09Z
dc.date.available2021-08-20T03:30:09Z
dc.date.created2564-08-20
dc.date.issued2554
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะหลักในการป้องกันและควบคุม โรคเบาหวาน และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ประจำสถานบริการสุขภาพภาครัฐ จังหวัดชลบุรี ครอบคลุม สมรรถนะหลัก 3 ด้าน คือ ความพร้อมทางวิชาการที่สำคัญ ความรู้สึกเสริมพลัง และทักษะที่จำเป็นศึกษา ในบุคลากรทางการแพทย์ตัวอย่าง จำนวน 239 คน ด้วยแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีค่าความเที่ยง ของสมรรถนะหลักเท่ากับ 0.953 ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์ด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสถิติเพื่อการเปรียบเทียบ t-test และ One-way ANOVA ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % การศึกษา พบว่า บุคลากรทางการแพทย์มีสมรรถนะหลักโดยรวมในการควบคุมและป้องกันโรค เบาหวาน ในระดับมาก (14.6%) ระดับปานกลาง (46.0%) และระดับน้อย (39.4%) ตัวแปรที่มีความ สัมพันธ์กับสมรรถนะหลักโดยรวม และด้านความพร้อมทางวิชาการที่สำคัญ คือ สถานที่ทำงาน ตำแหน่งงาน และภาระงานที่รับผิดชอบ ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับความรู้สึกเสริมพลัง คือ การศึกษา และการเร่งรัดของนโยบายที่มุ่งผลสัมฤทธิ์การทำงาน และตัวแปรที่สัมพันธ์กับทักษะที่จำเป็น คือ เพศ สถานที่ทำงาน ตำแหน่งงาน ความสัมพันธ์กับหัวหน้างาน และภาระงานที่รับผิดชอบ อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% จากผลการศึกษา สะท้อนให้เห็นว่า สมรรถนะหลักของบุคลากรทางการแพทย์ยังมีไม่เต็มที่ ผู้บริหาร ควรกำหนดนโยบายและเป้าหมายการพัฒนาสมรรถนะหลักในการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานของ บุคลากรทางการแพทย์เป็นการเฉพาะเพื่อยกระดับตามการทำงานของโรคเรื้อรัง ด้วยการจัดทำ หลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้ควรปรับให้สอดคล้องกับสภาพ และเงื่อนไขการทำงานของ สถานบริการสุขภาพในระดับที่แตกต่างกัน รวมทั้งตำแหน่งงานและหน้าที่รับผิดชอบen_US
dc.description.abstractThis survey study aimed to study core competency for prevention and control of diabetes and the relationship between related-factors and the core competency for prevention and control of diabetes, including the core competencies of academic preparedness, feeling of empowerment, and possessing the necessary skills, of health officers in the health service offices in Chonburi, Thailand. The sample was 239 health officers. Data were collected from questionnaires with a reliability at 0.9529, and analyzed by statistics including percentages, means, standard deviations (S.D.), paired t-tests, and one-way ANOVA at the statistical significance of 95%. The results revealed that 14.6% of the health officers have on overview of the core competency at a high level, 46.0% at a medium level, and 39.4% at a low level. Variables that had a significant statistical relationship with overview of the core competency were sex, work place, position, relationship with the head of the health officers, and responsible work load, with a reliability of 95%. The results reflected that the core competency for prevention and control of diabetes of the health officers was not complete and health service administrators should examine policies and purposes for development of the core competency, especially for enhancing working knowledge about chronic disease, programs, and processes of knowledge management which can improve the conforming circumstances and conditions of those working in the health service offices at different levels, including position, duty, and responsibility.en_US
dc.identifier.citationวารสารสุขศึกษา. ปีที่ 34, ฉบับที่ 118 (พ.ค.- ส.ค. 2554), 20-36en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63206
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectบุคลากรทางการแพทย์en_US
dc.subjectสถานบริการสุขภาพภาครัฐen_US
dc.subjectการควบคุมโรคเบาหวานen_US
dc.subjectสมรรถนะหลักในการป้องกันen_US
dc.subjectThai Journal of Health Education
dc.titleการประเมินสมรรถนะหลักในการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานของบุคลากรทางการแพทย์ ประจำสถานบริการสุขภาพภาครัฐ จังหวัดชลบุรีen_US
dc.title.alternativeCore Competency Evaluation for Prevention and Control of Diabetes Health Service of Health Officer in Chonburien_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he01.tci-thaijo.org/index.php/muhed/article/view/173889

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-prasit-2554.pdf
Size:
5.1 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections