Publication: A Strategic Response to the Water Crises: Examining the Application of Integrated Water Resource Management in Afghanistan
Issued Date
2008-12
Resource Type
Language
eng
ISSN
1686-6096
Rights
Mahidol University
Bibliographic Citation
Environment and Natural Resources Journal. Vol.6, No.2 (Dec. 2008),19-35
Suggested Citation
Yamin, Najibullah, Kanchana Nakhapakorn, Kampanad Bhaktikul, กัมปนาท ภักดีกุล, กาญจนา นาคะภากร A Strategic Response to the Water Crises: Examining the Application of Integrated Water Resource Management in Afghanistan. Environment and Natural Resources Journal. Vol.6, No.2 (Dec. 2008),19-35. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48066
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
A Strategic Response to the Water Crises: Examining the Application of Integrated Water Resource Management in Afghanistan
Other Contributor(s)
Abstract
This paper presents a part of main findings of the application study of Integrated Water Resource Management (IWRM) in Afghanistan. Qualitative research through in-depth interview with policy, plan and decision makers and secondary data review in the Ministry of Energy and Water of Afghanistan were conducted. Two objectives: examining the application of IWRM in Afghanistan and identification of IWRM principles significance with two questions as: Is the concept of IWRM applicable in Afghanistan and what is the significance of IWRM principles to sustainable water resource management were formulated. This paper only covered first objective of the study. Study results indicated that IWRM concept is applicable and can be a response to the water resources managerial crises in Afghanistan. An IWRM principle such as water prices has already existed and water legal and institutional branches are in developing status in Afghanistan. However, consideration to the environment and stakeholders’ participation will be paid. For proper application of IWRM in Afghanistan, it is suggested that; social awareness and institutional capacities should be promoted. Efficient coordination among organisations and consideration to the environmental protection should be prioritized.
งานวิจัยที่นำเสนอครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาการหาวิธีประยุกต์หลักการจัดการทรัพยากรน้ำอย่าง บูรณาการในประเทศอัฟกานิสถาน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพที่มีวิธีการศึกษาด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้มีอำนาจตัดสินใจทางด้านนโยบายและแผน และด้วยวิธีการรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากกระทรวงพลังงานและน้ำอัฟกานิสถาน วัตถุประสงค์ของการศึกษา คือ เพื่อทดสอบความเป็นไปได้ในการประยุกต์ใช้หลักการจัดการทรัพยากรน้ำอย่างบูรณาการในประเทศอัฟกานิสถาน และเพื่อพิสูจน์หลักการจัดการทรัพยากรน้ำอย่าง บูรณาการ โดยมีข้อสมมติฐานสองข้อ คือ แนวคิดการจัดการทรัพยากรน้ำอย่างบูรณาการสามารถประยุกต์ใช้ในอัฟกานิสถานได้หรือไม่ และ แนวคิดของการจัดการทรัพยากรน้ำอย่างบูรณาการที่มีนัยสำคัญต่อการจัดการทรัพยากรน้ำอย่างยั่งยืนคืออะไร บทความนี้นำเสนอครอบคลุมเฉพาะวัตถุประสงค์ข้อแรกของการศึกษาเท่านั้น ผลการศึกษาพบว่า แนวคิดการจัดการทรัพยากรน้ำอย่างบูรณาการสามารถประยุกต์ใช้และตอบสนองวิกฤตการณ์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในประเทศอัฟกานิสถาน หลักการจัดการทรัพยากรน้ำอย่างบูรณาการ เช่น การกำหนดราคาน้ำ มีการนำมาใช้ปฏิบัติในประเทศอัฟกานิสถานแล้ว ขณะที่กฎหมายด้านน้ำ และการจัดตั้งคณะกรรมการเครือข่ายลุ่มน้ำอยู่ในขบวนการศึกษาพัฒนาอยู่ อย่างไรก็ตามหากพิจารณาถึงด้านสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอาจจะมีการจ่ายค่าใช้ทรัพยากรน้ำเช่นกัน การประยุกต์หลักการจัดการทรัพยากรน้ำอย่างบูรณาการที่เหมาะสมสำหรับประเทศอัฟกานิสถาน มีข้อเสนอแนะดังนี้ ควรสนับสนุนการสร้างจิตสำนึกและความตระหนักในสังคมและกลุ่มเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ การประสานงานที่มีประสิทธิภาพระหว่างหน่วยงานและการพิจารณาถึงการป้องกันด้านสิ่งแวดล้อมควรให้ความสำคัญเช่นกัน
งานวิจัยที่นำเสนอครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาการหาวิธีประยุกต์หลักการจัดการทรัพยากรน้ำอย่าง บูรณาการในประเทศอัฟกานิสถาน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพที่มีวิธีการศึกษาด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้มีอำนาจตัดสินใจทางด้านนโยบายและแผน และด้วยวิธีการรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากกระทรวงพลังงานและน้ำอัฟกานิสถาน วัตถุประสงค์ของการศึกษา คือ เพื่อทดสอบความเป็นไปได้ในการประยุกต์ใช้หลักการจัดการทรัพยากรน้ำอย่างบูรณาการในประเทศอัฟกานิสถาน และเพื่อพิสูจน์หลักการจัดการทรัพยากรน้ำอย่าง บูรณาการ โดยมีข้อสมมติฐานสองข้อ คือ แนวคิดการจัดการทรัพยากรน้ำอย่างบูรณาการสามารถประยุกต์ใช้ในอัฟกานิสถานได้หรือไม่ และ แนวคิดของการจัดการทรัพยากรน้ำอย่างบูรณาการที่มีนัยสำคัญต่อการจัดการทรัพยากรน้ำอย่างยั่งยืนคืออะไร บทความนี้นำเสนอครอบคลุมเฉพาะวัตถุประสงค์ข้อแรกของการศึกษาเท่านั้น ผลการศึกษาพบว่า แนวคิดการจัดการทรัพยากรน้ำอย่างบูรณาการสามารถประยุกต์ใช้และตอบสนองวิกฤตการณ์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในประเทศอัฟกานิสถาน หลักการจัดการทรัพยากรน้ำอย่างบูรณาการ เช่น การกำหนดราคาน้ำ มีการนำมาใช้ปฏิบัติในประเทศอัฟกานิสถานแล้ว ขณะที่กฎหมายด้านน้ำ และการจัดตั้งคณะกรรมการเครือข่ายลุ่มน้ำอยู่ในขบวนการศึกษาพัฒนาอยู่ อย่างไรก็ตามหากพิจารณาถึงด้านสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอาจจะมีการจ่ายค่าใช้ทรัพยากรน้ำเช่นกัน การประยุกต์หลักการจัดการทรัพยากรน้ำอย่างบูรณาการที่เหมาะสมสำหรับประเทศอัฟกานิสถาน มีข้อเสนอแนะดังนี้ ควรสนับสนุนการสร้างจิตสำนึกและความตระหนักในสังคมและกลุ่มเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ การประสานงานที่มีประสิทธิภาพระหว่างหน่วยงานและการพิจารณาถึงการป้องกันด้านสิ่งแวดล้อมควรให้ความสำคัญเช่นกัน