Publication: Factors influencing the praticipation of the elderly in strong elderly club, Nakhon Ratchasima Province, Thailand
Issued Date
2009-09
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-1678
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Mahidol university
Bibliographic Citation
Journal of Public Health. Vol.39, No.3 (2009), 322-331
Suggested Citation
Siriporn Ketthanang, Kanitha Chumroonsawasdi, Wirin Kittipichai, สุธรรม นันทมงคลชัย, กนิษฐา จำรูญสวัสดิ์, วิริณธิ์ กิตติพิชัย Factors influencing the praticipation of the elderly in strong elderly club, Nakhon Ratchasima Province, Thailand. Journal of Public Health. Vol.39, No.3 (2009), 322-331. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2451
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors influencing the praticipation of the elderly in strong elderly club, Nakhon Ratchasima Province, Thailand
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุที่เข้มแข็ง จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย
Corresponding Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
The objective of this cross-sectional research was to study factors influencing the participation
of the elderly in strong elderly club. The subjects were 350 elderly in Nakhon Ratchasima Province.
The data were collected by interview questionnaire during June 15 to August 15, 2006 and analyzed
by frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson product moment correlation coefficient,
and Stepwise multiple regression. Results revealed that 57.1% of elderly had low level of participation
in the strong elderly club whereas 28.6% and 14.3% participated with the medium and low level
respectively. The factors that were statistical significant (p-value < 0.05) influencing the participation of
elderly in strong elderly club were, club membership privileges, perception of health condition, social
support, and age. In addition, the club membership privileges, perception of health condition, social
support and age could significantly predict the participation of elderly in the elderly club by 39.0%
with the highest predictive power was club membership privileges.
The study suggests that the Elderly Club Committee should widely advertise the privileges
of club membership to encourage family and community to support the elderly to participate in
elderly club.
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจภาคตัดขวาง เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุที่เข้มแข็ง จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ ผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่เข้มแข็ง ในจังหวัด นครราชสีมา จำนวน 350 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เก็บข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์ ระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2549 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบมีขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุร้อยละ 57.1 มีส่วนร่วมในระดับต่ำ ร้อยละ 28.6 มีส่วนร่วมในระดับปากลาง ร้อยละ 14.3 มีส่วนร่วมในระดับสูง ปัจจัยที่มีอิทธิพลและสามารถทำนายการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุที่เข้มแข็ง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) ได้แก่สิทธิประโยชน์ที่ได้รับจากการเป็นสมาชิกชมรม การรับรู้ภาวะสุขภาพ แรงสนับสนุนทางสังคม และอายุ ซึ่งสามารถร่วมทำนายการมีส่วนร่วมในชมชมผู้สูงอายุที่เข้มแข็ง ได้ร้อยละ 39.0 และสิทธิประโยชน์ที่ได้รับจากการเป็นสมาชิกชมรมสามารถร่วมทำนายได้สูงสุด จากผลการศึกษามีข้อเสนอแนะผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานชมรมผู้สูงอายุให้มีการประชาสัมพันธ์ถึงสิทธิประโยชน์ที่ได้รับจากการเป็นสมาชิกชมรมอย่างทั่วถึง รวมถึงส่งเสริมให้ครอบครัวและชมุชนสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในชมรมผู้สูงอายุมากขึ้น
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจภาคตัดขวาง เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุที่เข้มแข็ง จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ ผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่เข้มแข็ง ในจังหวัด นครราชสีมา จำนวน 350 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เก็บข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์ ระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2549 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบมีขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุร้อยละ 57.1 มีส่วนร่วมในระดับต่ำ ร้อยละ 28.6 มีส่วนร่วมในระดับปากลาง ร้อยละ 14.3 มีส่วนร่วมในระดับสูง ปัจจัยที่มีอิทธิพลและสามารถทำนายการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุที่เข้มแข็ง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) ได้แก่สิทธิประโยชน์ที่ได้รับจากการเป็นสมาชิกชมรม การรับรู้ภาวะสุขภาพ แรงสนับสนุนทางสังคม และอายุ ซึ่งสามารถร่วมทำนายการมีส่วนร่วมในชมชมผู้สูงอายุที่เข้มแข็ง ได้ร้อยละ 39.0 และสิทธิประโยชน์ที่ได้รับจากการเป็นสมาชิกชมรมสามารถร่วมทำนายได้สูงสุด จากผลการศึกษามีข้อเสนอแนะผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานชมรมผู้สูงอายุให้มีการประชาสัมพันธ์ถึงสิทธิประโยชน์ที่ได้รับจากการเป็นสมาชิกชมรมอย่างทั่วถึง รวมถึงส่งเสริมให้ครอบครัวและชมุชนสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในชมรมผู้สูงอายุมากขึ้น