Publication:
การปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉินตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ ของผู้ปฏิบัติการในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี

dc.contributor.authorไตรเทพ โดษะนันท์en_US
dc.contributor.authorฉัตรสุมน พฤฒิภญโญen_US
dc.contributor.authorสุรชาติณ หนองคายen_US
dc.contributor.authorนิทิศน์ ศิริโชติรัตน์en_US
dc.contributor.authorTraitep Dosananten_US
dc.contributor.authorChardsumon Prutipinyoen_US
dc.contributor.authorSurachart Na Nongkhaien_US
dc.contributor.authorNithat Sirichotiratanaen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุขen_US
dc.date.accessioned2018-11-29T02:10:37Z
dc.date.available2018-11-29T02:10:37Z
dc.date.created2561-11-29
dc.date.issued2559
dc.description.abstractงานศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาการปฏิบัติการฉุกเฉินตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 ของผู้ปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉิน ในพื้นที่จังหวัดปทุมธานีโดยตัวอย่างในการศึกษา คือ ผู้ปฏิบัติการทางการแพทย์ในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี จำนวน 164 คน ผลการศึกษาพบว่า ผู้ปฏิบัติการฉุกเฉิน ตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 ในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี ส่วนใหญ่มีการปฏิบัติการโดยรวมอยู่ในระดับดี ด้านความรู้ของผู้ปฏิบัติการเกี่ยวกับ พ.ร.บ. พบว่า ผู้ปฏิบัติการมีระดับความรู้โดยรวมอยู่ในระดับดี ด้านทัศนคติพบว่า โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 56.9 ด้านปัจจัยจูงใจพบว่า โดยรวมอยู่ในระดับดี ด้านปัจจัยบำรุงรักษา พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ความรู้เกี่ยวกับ พ.ร.บ. การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติการฉุกเฉินตาม พ.ร.บ.โดยรวมในทางบวก (r = 0.253) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.001) ทัศนคติโดยรวมมีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติการฉุกเฉินตาม พ.ร.บ. ในทางบวก (r = 0.168) อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.034) ปัจจัยจูงใจโดยรวมมีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติการฉุกเฉินตามพ.ร.บ. โดยรวมในทางบวก (r = 0.348) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.001) มีค่าความแกร่งที่ร้อยละ 23.6 (R² = 0.236) มีตัวแปรที่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อการปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน ตาม พ.ร.บ.การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 ได้แก่ ความรู้ ปัจจัยจูงใจ และปัจจัยบำรุงรักษา งานวิจัยนี้มีข้อเสนอแนะให้สำนักงานพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดปทุมธานี ควรมีการส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดปทุมธานีมีความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการแพทย์ ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 มากขึ้นรวมทั้งการเสริมสร้างทัศนคติที่ดีให้กับผู้ปฏิบัติการอย่างต่อเนื่องen_US
dc.description.abstractThis study is descriptive research which has aim to examine the medical emergency practices according to Medical Emergency Act, 2551 B.E., of operators in Pathumthani province area. One hundred and sixty-four operators in Pathumthani province area selected for the study. The study found emergency medical operators according to Medical Emergency Act, 2551 B.E., in Pathumthani province were good level of operation. The overall knowledge of operators about the Act was good level. The attitude of operators was moderate level, 56.9 percent. The motivation of operators was good level and maintenance factor were moderate level. The knowledge of the Medical Emergency Act, 2551 B.E., has correlation with medical emergency operation according to the Act in positive statistically significant (r = 0.253, p = 0.001). The overall attitude has correlation with medical emergency operation according to the Act in positive statistically significant (r = 0.168, p = 0.034). The overall motivation factors have correlation with medical emergency operation according to the Act in positive statistically significant (r = 0.348, p = 0.000) and the robust value was 23.6 percent (R² = 0.236). The factors influencing to emergency medical operation according to Medical Emergency Act, 2551 B.E., was knowledge, motivation factors and maintenance factors. The research has recommended to the Office Develops Medical Profession Emergency Pathumthani System should be supported the emergency medical operators in Pathumthani province have knowledge about the Medical Emergency Act, 2551 B.E., include create a positive attitude to operators, successively.en_US
dc.identifier.citationวารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข. ปีที่ 2, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2559), 31-43en_US
dc.identifier.issn2408-249X
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/36889
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectผู้ปฏิบัติการen_US
dc.subjectการปฏิบัติทางการแพทย์ฉุกเฉินen_US
dc.subjectพ.ร.บ.การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551en_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.subjectวารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุขen_US
dc.subjectPublic Health & Health Laws Journalen_US
dc.titleการปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉินตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ ของผู้ปฏิบัติการในพื้นที่จังหวัดปทุมธานีen_US
dc.title.alternativeMedical Emergency Practices according to Medical Emergency Act, 2551 B.E. of Operators in Pathumthani Province Areaen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttp://phad.ph.mahidol.ac.th/journal_law/2-1/08-Traitep%20Dosanant.pdf

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-chardsum-2559-3.pdf
Size:
305.12 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections