Publication: การเรียนรู้เชิงรุกวิถีใหม่่ เพื่อเปิดประสบการณ์การเรียนรู้บนโลกเสมือนจริง
dc.contributor.author | นภัสวรรณ สุพัตร | |
dc.contributor.author | เอกนฤน บางท่าไม้ | |
dc.contributor.author | สิทธิชัย ลายเสมา | |
dc.date.accessioned | 2024-07-19T19:01:05Z | |
dc.date.available | 2024-07-19T19:01:05Z | |
dc.date.created | 2567 | |
dc.date.issued | 2567 | |
dc.description.abstract | ปัจจุบันพบหลายปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการการเรียนรู้ของนักเรียน ได้แก่ ความขาดแคลนแรงจูงใจในการเรียน การจัดสรรเวลาของผู้เรียน ความขาดเชื่อมั่นในตนเอง และขาดทรัพยากรการเรียนรู้ที่เพียงพอ ด้วยเหตุนี้การส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพและศักยภาพทางการศึกษาของผู้เรียนผ่านกระบวนการเรียนรู้เชิงรุกเป็นสิ่งสำคัญ โดยการให้ ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดการคิดวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และลงมือปฏิบัติ การใช้เทคโนโลยี Virtual Reality จึงเป็นหนึ่งในวิธีที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้กับกระบวนการเรียนรู้ เช่น เพิ่มความสนใจและกระตุ้นกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน สร้างสถานการณ์การเรียนรู้ ที่เชื่อมโยงผู้เรียนกับชีวิตจริง ประสบการณ์การเรียนรู้ผ่านการเล่นเกมบนโลกเสมือนจริง และสร้างประสบการณ์ การเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติบนสถานการณ์จำลอง ดังนั้น การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี VR กับการศึกษานั้น มีทั้งโอกาสและความท้าทายในการสนับสนุนทางการศึกษา โดยเปลี่ยนวิธีการเรียนรู้แบบเดิมเป็นการเรียนรู้เชิงรุกอย่างสร้างสรรค์และกว้างขวางมากขึ้นในโลกอนาคต | |
dc.description.abstract | Currently, there are several factors affecting students’ learning processes, including a lack of motivation in learning, time management issues, low self-confidence, and insufficient learning resources. Therefore, promoting the personality and educational efficiency development of students through interactive learning processes is crucial. This encouraged students participate in and interact with learning activities through practical application to foster analytical thinking, synthesis, exchanging ideas, and taking action. The use of VR technology was a way to enhance the efficiency of the learning process. For example, it increased student interest and stimulates them to learn processes, created learning situations that connect students with real life, provided learning experiences through gaming in virtual worlds, and fostered learning experiences through hands-on practice in simulated environments. Therefore, the application of VR technology in education presented both opportunities and challenges in supporting educational initiatives by transforming traditional learning methods into more creative and comprehensive experiential learning in the future. | |
dc.format.extent | 13 หน้า | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา. ปีที่ 7, ฉบับที่ 21 (ม.ค.-มี.ค. 2567), 22-34 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/99727 | |
dc.language.iso | tha | |
dc.rights | ผลงานนี้ลิขสิทธิ์เป็นของสำนักพิมพ์ | |
dc.rights.holder | ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | |
dc.subject | การเรียนรู้เชิงรุก | |
dc.subject | โลกเสมือนจริง | |
dc.subject | ประสบการณ์การเรียนรู้ | |
dc.title | การเรียนรู้เชิงรุกวิถีใหม่่ เพื่อเปิดประสบการณ์การเรียนรู้บนโลกเสมือนจริง | |
dc.title.alternative | Active learning, a new path to unlock virtual reality learning experiences | |
dc.type | Article | |
dcterms.accessRights | open access | |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://so02.tci-thaijo.org/index.php/etcedumsujournal/article/view/267781 | |
oaire.citation.endPage | 34 | |
oaire.citation.issue | 21 | |
oaire.citation.startPage | 22 | |
oaire.citation.title | วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา | |
oaire.citation.volume | 7 | |
oairecerif.author.affiliation | มหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล. งานเทคโนโลยีการศึกษา | |
oairecerif.person.affiliation | มหาวิทยาลัยศิลปากร. คณะศึกษาศาสตร์. ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา |