Publication:
อิทธิพลของเทคนิคการใช้ยาชนิดสูด การเกิดอาการกำเริบ อายุ และอุปสรรคในการรับการดูแลต่อความร่วมมือในการใช้ยาชนิดสูดในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

dc.contributor.authorดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศen_US
dc.contributor.authorวิภาณี คงทนen_US
dc.contributor.authorธนพัชร์ สุมนวิวัฒน์en_US
dc.contributor.authorวันชัย เดชสมฤทธิ์ฤทัยen_US
dc.contributor.authorDoungrut Wattanakitkrilearten_US
dc.contributor.authorWipanee Khongtonen_US
dc.contributor.authorThonaput Sumonviwaten_US
dc.contributor.authorWanchai Dejsomritrutaien_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล . คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ภาควิชาอายุรศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2020-12-30T08:56:09Z
dc.date.available2020-12-30T08:56:09Z
dc.date.created2563-12-30
dc.date.issued2563
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอิทธิพลของเทคนิคการใช้ยาชนิดสูด การเกิดอาการกำเริบ อายุ และอุปสรรคในการรับการดูแลต่อความร่วมมือในการใช้ยาชนิดสูดในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง รูปแบบการวิจัย: การศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง จำนวน 164 ราย ณ คลินิกโรคปอด โรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินความร่วมมือในการใช้ยาสูด เทคนิคการใช้ยาชนิดสูด และอุปสรรคในการรับการดูแล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติก ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชายร้อยละ 93.3 อายุเฉลี่ย 73.20 ปี (SD = 9.27) มีความร่วมมือในการใช้ยาร้อยละ 73.8 เทคนิคการใช้ยาชนิดสูด การเกิดอาการกำเริบ อายุ และอุปสรรคในการรับการดูแล สามารถร่วมกันทำนายความร่วมมือในการใช้ยาชนิดสูด ในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังได้ร้อยละ 23 เทคนิคการใช้ยาชนิดสูดที่ถูกต้อง การไม่เกิดอาการกำเริบ และอายุในช่วง 70-79 ปี สามารถทำนายความร่วมมือในการใช้ยาชนิดสูดในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (OR = 2.93, 95%CI = 1.34, 6.43, p < .01; OR = 2.72, 95%CI = 1.23, 6.01, p < .01 และ OR = .29, 95%CI = .12, .75, p < .01 ตามลำดับ) สรุปและข้อเสนอแนะ: การใช้ยาสูดถูกต้องทุกขั้นตอนจะทำให้ยาออกฤทธิ์อย่างมีประสิทธิภาพ พยาบาลควรตรวจสอบความถูกต้องของการใช้ยาสูดอย่างสม่ำเสมอ ให้ข้อมูลประโยชน์ของความร่วมมือในการใช้ยาเพื่อป้องกันการกำเริบen_US
dc.description.abstractPurpose: This study aimed to examine the influence of Inhaler technique, exacerbation, age, and barrier to receiving care on adherence to inhaled medications in patients with chronic obstructive pulmonary disease (COPD). Design: Correlational predictive research design. Methods: The study samples including 164 patients with COPD came for follow-up visits at COPD clinic of a tertiary hospital in Bangkok. Data collection was performed using demographic data questionnaire, Medication Adherence Report Scale, Inhaler technique, and barrier to receiving care. Data were analyzed using descriptive statistics and logistic regression analysis. Main findings: The results showed that majority of participant (93.3%) were male with average age of 73.20 years (SD = 9.27); and 73.8% of the participants were adherent to inhaled medications. Inhaler technique, exacerbation, age, and barrier to receiving care together contributed for 23% of the variance explained in adherence to inhaled medications in patients with COPD. It was also found that correct inhaler technique, no exacerbation and age 70-79 years could predict adherence to inhaled medications in patients with COPD (OR = 2.93, 95%CI = 1.34, 6.43, p < .01; OR = 2.72, 95%CI = 1.23, 6.01, p < .01; and OR = .29, 95%CI = .12, .75, p < .01 respectively). Conclusion and recommendations: Correct step of inhaled medication has a better chance to reach the small airways receptors which increases the medication's effectiveness. Nurses should regularly check the correctness of patients’ inhaler technique and provide information about benefit of adherence to inhaled medications in preventing exacerbation.en_US
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยได้รับทุนจากเงินกองทุน ซี.เอ็ม.บี. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.identifier.citationวารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 38, ฉบับที่ 2 (เม.ย.- มิ.ย. 2563), 74-87en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/60625
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังen_US
dc.subjectอาการกำเริบen_US
dc.subjectเทคนิคการใช้ยาชนิดสูดen_US
dc.subjectความร่วมมือในการใช้ยาชนิดสูดen_US
dc.subjectวารสารพยาบาลศาสตร์en_US
dc.subjectJournal of Nursing Scienceen_US
dc.subjectNursing Science Journal of Thailanden_US
dc.subjectCOPDen_US
dc.subjectexacerbationen_US
dc.subjectinhaler techniqueen_US
dc.subjectmedication adherenceen_US
dc.titleอิทธิพลของเทคนิคการใช้ยาชนิดสูด การเกิดอาการกำเริบ อายุ และอุปสรรคในการรับการดูแลต่อความร่วมมือในการใช้ยาชนิดสูดในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังen_US
dc.title.alternativeThe Influence of Inhaler Technique, Exacerbation, Age, and Barrier to Receiving Care on Adherence to Inhaled Medications in Patients with COPDen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/241059

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ns-ar-doungrut-2563.pdf
Size:
239.97 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections