Publication:
อันตรายที่มากับน้ำแข็งปนเปื้อน กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และการสุขาภิบาล

dc.contributor.authorชัชวาล สิงหกันต์en_US
dc.contributor.authorChatchawal Singhakanten_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาวิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมen_US
dc.date.accessioned2018-11-29T09:22:24Z
dc.date.available2018-11-29T09:22:24Z
dc.date.created2561-11-29
dc.date.issued2561
dc.description.abstractน้ำแข็งสำหรับบริโภคถือเป็นสินค้าที่เป็นที่ต้องการและสามารถพบจำหน่ายทั่วไปใน ประเทศไทย อย่างไรก็ตาม ผลจากการสำรวจหลายๆ ครั้ง มักพบว่า น้ำแข็งมีการปนเปื้อน แบคทีเรียชี้วัดและเชื้อก่อโรคอยู่เสมอ ซึ่งบ่งชี้ว่าการบริโภคน้ำแข็งมีความเสี่ยงต่อสุขภาพของ ผู้บริโภค โดยเฉพาะน้ำแข็งบดซึ่งพบการปนเปื้อนมากกว่าน้ำแข็งหลอด ความเสี่ยงจากการบริโภค น้ำแข็งส่วนใหญ่เกิดจากการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ซึ่งในประเทศไทยเคยพบเหตุการณ์โรค ระบาดที่มีสาเหตุเกิดจากน้ำแข็งที่ปนเปื้อนมาแล้ว นอกจากนี้ในน้ำแข็งยังอาจพบการปนเปื้อน สารเคมีและสิ่งแปลกปลอมได้อีกด้วย ทั้งนี้การปนเปื้อนในน้ำแข็งอาจเกิดขึ้นได้ตั้งแต่สถานที่ผลิต ร้านค้าส่ง ร้านจำหน่ายปลีก และระหว่างการขนส่ง มีกฎหมายหลายฉบับในประเทศไทยที่ เกี่ยวข้องกับการควบคุมดูแลกิจการน้ำแข็งเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค ซึ่งหน่วยงานรัฐที่ เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่นควรมีการควบคุมดูแลสุขลักษณะในสถานประกอบการอย่างสม่ำเสมอ นอกจากนี้ ในส่วนของเจ้าของกิจการและผู้ปฏิบัติงานควรให้ความร่วมมือเพื่อให้แน่ใจว่ามีการ ปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลเพื่อลดความเสี่ยงที่เกิดจากการบริโภคน้ำแข็งของผู้บริโภคen_US
dc.description.abstractEdible ice is a required product and generally sold in Thailand. However, several survey revealed that ice was always contaminated by bacterial indicators and pathogens, indicating that the ice consumption poses a health risk to consumer. Especially, the crushed ice normally found contamination more than the tube ice. Most of risk from ice consumption came from pathogens. Cases of outbreak from ice contamination had been reported in Thailand. Moreover, both chemical and filth contamination could be possible found in ice. Ice contamination may occur at iceproduction site, wholesale shop, retailer, and transportation. There are several laws in Thailand related to control the ice related commerce for safety of consumer. Therefore, the local government agency should regularly audit hygiene control in these places. In addition, both ice commerce owner and worker should cooperate to ensure good sanitation is implemented to minimize the risk to consumer.en_US
dc.identifier.citationวารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข. ปีที่ 4, ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561), 279-293en_US
dc.identifier.issn2408-249X
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/36910
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectน้ำแข็งสำหรับบริโภคen_US
dc.subjectการปนเปื้อนen_US
dc.subjectเชื้อก่อโรคen_US
dc.subjectกฎหมายen_US
dc.subjectการสุขาภิบาลen_US
dc.subjectวารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุขen_US
dc.subjectPublic Health & Health Laws Journalen_US
dc.titleอันตรายที่มากับน้ำแข็งปนเปื้อน กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และการสุขาภิบาลen_US
dc.title.alternativeHazards from Contaminated Ice, Related Laws, and Sanitationen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttp://phad.ph.mahidol.ac.th/journal_law/4-2/16-Chatchawal.pdf

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-chatchaw-2561.pdf
Size:
295.54 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections