Publication:
การศึกษาเพื่อเปรียบเทียบระยะเวลาในการฝึกพูดให้ชัด ระหว่างการใช้แบบฝึกที่คำนึงถึงการออกเสียงร่วมและแบบฝึก

dc.contributor.authorเฉลิมชัย นิลสุวรรณโฆษิตen_US
dc.contributor.authorปรางทิพย์ ศิริชื่นวิจิตรen_US
dc.contributor.authorวรพล บุญญบาลen_US
dc.contributor.authorChalermchai Nilsuwankhositen_US
dc.contributor.authorPrangtip Sirichuenvichiten_US
dc.contributor.authorWorapol Boonyabanen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมายen_US
dc.contributor.otherสำนักการแพทย์. โรงพยาบาลกลาง. กลุ่มงานโสต คอ นาสิกen_US
dc.date.accessioned2022-09-22T06:32:14Z
dc.date.available2022-09-22T06:32:14Z
dc.date.created2565-09-22
dc.date.issued2559
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบระยะเวลาที่ใช้ในการฝึกพูดให้ชัดในเด็กพูดไม่ชัด 2 กลุ่มที่ใช้แบบฝึกที่คำนึงถึงการออกเสียงร่วม (co-articulation) และแบบฝึกทั่วไป วิธีการวิจัย: ผู้วิจัยได้ทำการสุ่มเด็กพูดไม่ชัดอายุ 3-6 ปี จำนวน 30 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มเด็กที่ฝึกพูดโดยใช้แบบฝึกที่คำนึงถึงการออกเสียงร่วม จำนวน 15 คน และกลุ่มเด็กที่ฝึกพูดผ่านแบบฝึกทั่วไป จำนวน 15 คน ผลการศึกษา: ระยะเวลาของการฝึกพูดให้ชัด โดยใช้แบบฝึกที่คำนึงถึงการออกเสียงร่วมมีค่าเฉลี่ย 2.66 สัปดาห์ ส่วนการฝึกพูดโดยใช้แบบฝึกทั่วไป มีค่าเฉลี่ย 4.66 สัปดาห์ ผลการวิจัยนี้ยังไม่สามารถแสดงให้เห็นว่าการฝึกพูดไม่ชัดที่ใช้การออกเสียงร่วมจะใช้เวลาในการฝึกพูดสั้นกว่าการฝึกพูดโดยใช้แบบฝึกทั่วไป ทั้งนี้เนื่องจากกลุ่มตัวอย่างแต่ละกลุ่มมีจำนวนน้อย อีกทั้งเสียงที่พูดไม่ชัดก็มีฐานกรณ์และลักษณะการออกเสียงแตกต่างกันในแต่ละบุคคล สรุป: การฝึกพูดไม่ชัดที่ใช้แบบฝึกการออกเสียงร่วม เป็นอีกวิธีหนึ่งที่สามารถใช้ฝึกเด็กพูดไม่ชัดให้สามารถพูดภาษาไทยชัดเจนขึ้นได้ จากผลการวิจัยนี้ สามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาต่อ โดยนำไปสร้างเป็นแบบฝึกหัดการพูดไม่ชัด ซึ่งจะเป็นเครื่องมือที่มีมาตรฐานและประสิทธิภาพในทางคลินิกต่อไปen_US
dc.description.abstractObjective: The purpose of this research was to compare a period of time in speech training for children with articulation disorders by using 2 types of exercises, the co-articulation and general exercise. Patients and Methods: Thirty children with articulation disorders were randomly selected and divided into 2 groups. Group 1 (n =15) was trained by a co-articulation exercise was used; and group 2 (n=15) by using a general articulation exercise. The data of this study were analyzed by descriptive statistics. Results: Average period of time of speech accuracy in the co-articulation group was 2.66 weeks and 4.66 weeks for the general group. However, the result cannot be concluded that the duration of using the co-articulation exercise was shorter than the duration of using general exercise because the sample size of each group is small and varieties of articulation placements and manners of speech sounds. Conclusion: The co-articulation exercise is another beneficial method for improving articulation skills in Thai language. The results of this study can be the guideline to develop articulation exercises for people with articulation disorders which could be a standard and effective tool for using in a clinical setting.en_US
dc.identifier.citationรามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 39, ฉบับที่ 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2559), 234-243en_US
dc.identifier.issn0125-3611 (Print)
dc.identifier.issn2651-0561 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79613
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมาย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderกลุ่มงานโสต คอ นาสิก โรงพยาบาลกลาง สำนักการแพทย์en_US
dc.subjectพูดไม่ชัดen_US
dc.subjectฝึกพูดen_US
dc.subjectนักแก้ไขการพูดen_US
dc.subjectการออกเสียงร่วมen_US
dc.subjectArticulation disordersen_US
dc.subjectSpeech trainingen_US
dc.subjectSpeech and Languageen_US
dc.subjectPathologisten_US
dc.subjectCo-articulationen_US
dc.titleการศึกษาเพื่อเปรียบเทียบระยะเวลาในการฝึกพูดให้ชัด ระหว่างการใช้แบบฝึกที่คำนึงถึงการออกเสียงร่วมและแบบฝึกen_US
dc.title.alternativeA Comparison of Duration of Speech Accuracy Between Co-articulation Exercise and General Exercise in Children with Articulation Disordersen_US
dc.typeOriginal Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/ramajournal/article/view/80465/64103

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ra-ar-chalerm-2559.pdf
Size:
2.79 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections