Publication:
พฤติกรรมการบริโภคผักและผลไม้ของนักเรียนประถมศึกษา จังหวัดสุราษฎร์ธานี

dc.contributor.authorศิริสุข วรรณศรีen_US
dc.contributor.authorมณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์en_US
dc.contributor.authorนิรัตน์ อิมามีen_US
dc.contributor.authorเรวดี จงสุวัฒน์en_US
dc.contributor.authorSirisuk Wannasrien_US
dc.contributor.authorManirat Therawiwaten_US
dc.contributor.authorNirat Imameeen_US
dc.contributor.authorRewadee Chongsuwaten_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาโภชนวิทยาen_US
dc.date.accessioned2021-03-18T18:46:30Z
dc.date.available2021-03-18T18:46:30Z
dc.date.created2564-03-19
dc.date.issued2556
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภคผักและผลไม้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4- 6 จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 570 คน กรอบแนวคิดในการศึกษาประยุกต์จาก PRECEDE Framework รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามให้ตอบด้วยตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติวิเคราะห์การจำแนก พหุ (Multiple Classification Analysis) ผลการวิเคราะห์การจำแนกพหุของปัจจัยคัดสรร 10 ปัจจัย ได้แก่ เพศ ระดับการศึกษา ความชอบบริโภคผัก ครอบครัวมีการปรุงอาหารที่มีผักเป็นส่วนประกอบ อาหารกลางวันที่ปรุงด้วยผัก การบริโภคผักของผู้ปกครอง การบริโภคผัก ของพี่หรือน้อง การมีป้ายความรู้เรื่องผักและผลไม้ในโรงเรียน การสนับสนุนจากผู้ปกครองและการสนับสนุนจากเพื่อน นักเรียน สามารถอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมการบริโภคผักของกลุ่มตัวอย่างได้ประมาณร้อยละ 37 (R2 =0.366) เมื่อควบคุมอิทธิพลของปัจจัยอื่นๆแล้ว ปัจจัยที่สามารถอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมการบริโภคผักได้ดีที่สุด 3 อันดับแรก คือ ความชอบบริโภคผัก การมีป้ายความรู้เรื่องผักและผลไม้ในโรงเรียน และ เพศของนักเรียน (Beta= 0.396, 0.147 และ 0.141 ตามลำดับ) ส่วนผลการวิเคราะห์การจำแนกพหุในการทำนายพฤติกรรมการบริโภคผลไม้ของนักเรียน ตามปัจจัยคัดสรร 10 ปัจจัย ได้แก่ เพศ ระดับการศึกษา ความรู้เกี่ยวกับผลไม้ ความชอบบริโภคผลไม้ การที่ทางบ้านเตรียม ผลไม้ไว้ให้ การมีผลไม้ขายในโรงเรียน การมีส่วนร่วมทำกิจกรรมเกี่ยวกับผักและผลไม้ การมีป้ายความรู้เรื่องผักและผลไม้ ในโรงเรียน การสนับสนุนจากผู้ปกครองและการสนับสนุนจากเพื่อนนักเรียน สามารถอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรม การบริโภคผลไม้ได้ประมาณร้อยละ 20 (R2 = 0.195) เมื่อควบคุมอิทธิพลของปัจจัยอื่นๆแล้ว ปัจจัยที่สามารถอธิบายความ แปรปรวนของพฤติกรรมการบริโภคผลไม้ได้ดีที่สุด 3 อันดับแรก คือ การที่ทางบ้านเตรียมผลไม้ไว้ให้นักเรียน ความชอบ บริโภคผลไม้ และการมีป้ายความรู้เรื่องผักและผลไม้ในโรงเรียน (Beta= 0.241,0.128 และ 0.167 ตามลำดับ) ดังนั้น การ จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีพฤติกรรมการบริโภคผักและผลไม้ ควรส่งเสริมในเรื่องความชอบในการ บริโภคผักและผลไม้ของนักเรียน การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อและสนับสนุนการบริโภคผักและผลไม้ และการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับเพศของนักเรียนen_US
dc.description.abstractThis survey research aimed to study fruit and vegetable dietary behaviors of 570 elementary school students in Surat Thani province, Thailand. The PRECEDE Framework was applied to define study variables. Data were collected by self-administered questionnaires and was analyzed by descriptive statistics and Multiple Classification Analysis. From Multiple Classification Analysis it was found that about 37.0 percent of the variance of vegetable dietary behaviors of the students (R2=0.366) could be explained by 10 selected factors, which were gender, educational level, preferable to eat vegetable, preparing of food with vegetable by family, having lunch with vegetable, eating vegetable of parents, eating vegetable of siblings, having an information board about vegetable and fruit in school, support from parents, and support from friends. Once the effect of all other factors were taken into account, the best three predictors were preferable to eat vegetable of the students, having the information board, and student’s gender (Beta=0.396, 0.147, and 0.141, respectively). Regarding fruit dietary behaviors, it was found that about 20 percent of the behavioral variance (R2=0.195) could be explained by 10 selected factors, which were gender, educational level, knowledge about fruit, preferable to eat fruit, availability of fruit at home, availability of fruit in school, participation in activities about fruit and vegetable in school, having an information board about vegetable and fruit in school, support from parents, and support from friends. The best three predictors were availability of fruit at home, preferable to eat fruit, and having the information board about vegetable and fruit (Beta=0.241, 0.182, and 0.167, respectively). Therefore, promoting fruit and vegetable consumptions among elementary school students should be emphasized on preferable to eat fruit and vegetable of the student, managing of environment that enable and reinforce student to perform fruit and vegetable dietary behaviors, and designing of learning experience that suitable to gender of the student.en_US
dc.identifier.citationวารสารสุขศึกษา. ปีที่ 36, ฉบับที่ 124 (พ.ค.- ส.ค. 2556), 45-60en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/61321
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectพฤติกรรมการบริโภคผักและผลไม้en_US
dc.subjectปัจจัยทำนายen_US
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษาen_US
dc.subjectFruit and vegetable dietary behaviorsen_US
dc.subjectPredicting factorsen_US
dc.subjectElementary school studenten_US
dc.titleพฤติกรรมการบริโภคผักและผลไม้ของนักเรียนประถมศึกษา จังหวัดสุราษฎร์ธานีen_US
dc.title.alternativeFruit and Vegetable Dietary Behaviors in Elementary School Students, Surat Thani Province, Thailanden_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he01.tci-thaijo.org/index.php/muhed/article/view/174473

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-manirat-2556-2.pdf
Size:
2.5 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections