Publication: Associations among Knowledge, Attitudes, Health Behaviors, and Stress of Pregnant Women in Thailand during the New Coronavirus-2019
Issued Date
2022
Resource Type
Language
eng
ISSN
2672-9784 (Online)
0858-9739 (Print)
0858-9739 (Print)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Ramathibodi School of Nursing Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Nursing Journal. Vol. 28, No. 2 (May-Aug 2022), 170-182
Suggested Citation
Pairin Sukontrakoon, Srisamorn Phumonsakul, Sailom Gerdprasert, Shuleeporn Prohm, Arissara Sawatpanich, ไพรินทร์ สุคนธ์ตระกูล, ศรีสมร ภูมนสกุล, สายลม เกิดประเสริฐ, ชุลีพร พรห์ม, อริสรา สวัสดิพาณิชย์ Associations among Knowledge, Attitudes, Health Behaviors, and Stress of Pregnant Women in Thailand during the New Coronavirus-2019. Ramathibodi Nursing Journal. Vol. 28, No. 2 (May-Aug 2022), 170-182. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79926
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Associations among Knowledge, Attitudes, Health Behaviors, and Stress of Pregnant Women in Thailand during the New Coronavirus-2019
Alternative Title(s)
ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมปฏิบัติด้านสุขภาพ และความเครียดของสตรีตั้งครรภ์ในประเทศไทยระหว่างการระบาดของเไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
Abstract
A descriptive correlational study aimed to examine the associations among knowledge about COVID-19, attitudes toward COVID-19, health behaviors, and stress of pregnant women in Thailand during the COVID-19 pandemic. A sample of 283 pregnant women who met the inclusion criteria was recruited and participated via self-administered online questionnaires. The questionnaires requested personal information, knowledge about COVID-19, attitudes toward COVID-19, health behaviors related to COVID-19 in pregnancy, and stress. Descriptive statistics and Spearman’s rank correlations were applied for data analysis. The results showed that most pregnant women had a high level of knowledge about COVID-19 and good health behaviors (75.62% and 88.34%, respectively), a neutral attitude, and a moderate stress level (78.09% and 76.32%, respectively). Also, findings revealed a significant positive association between knowledge and health behaviors, negative attitudes toward COVID-19 and health behaviors, and negative attitudes toward COVID-19 and stress. However, significant associations were not found between knowledge and attitudes,knowledge and stress, and health behaviors and stress. Therefore, pregnant women should receive reliable health information about the novel coronavirus disease, which may influence attitudes toward this disease, to help them engage in health behaviors and prevent such infections. Importantly, accurate information should make the pregnant women gain more understanding of COVID-19. Psychological support is needed to help pregnant women manage their stress appropriately.
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 ทัศนคติต่อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 พฤติกรรมปฏิบัติด้านสุขภาพ และความเครียดของสตรีตั้งครรภ์ในประเทศไทยในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใหม่ 2019 กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีตั้งครรภ์ตามคุณสมบัติที่กำหนดจำนวน 283 ราย ตอบแบบสอบถามด้วยตนเองผ่านทางออนไลน์ ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคลแบบประเมินความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการปฏิบัติด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับโควิด-19 ในสตรีตั้งครรภ์ และแบบประเมินความเครียด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติสหสัมพันธ์สเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า สตรีตั้งครรภ์ส่วนใหญ่มีความรู้และพฤติกรรมการปฏิบัติด้านสุขภาพอยู่ในระดับสูง (ร้อยละ 75.62 และ ร้อยละ 88.34 ตามลำดับ) มีทัศนคติและความเครียดอยู่ในระดับปานกลาง (ร้อยละ 78.09 และ ร้อยละ 76.32 ตามลำดับ) ความรู้มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมปฏิบัติด้านสุขภาพ ทัศนคติเชิงลบมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการปฏิบัติด้านสุขภาพและทัศนคติเชิงลบมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความเครียดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยที่ความรู้ไม่มีความสัมพันธ์กับทัศนคติและความเครียด และพฤติกรรมการปฏิบัติด้านสุขภาพไม่มีความสัมพันธ์กับความเครียด ดังนั้น สตรีตั้งครรภ์จึงควรได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่อย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วยให้สตรีตั้งครรภ์สามารถปฏิบัติตัวในการป้องกันการติดเชื้อดังกล่าวได้ รวมทั้งควรมีการส่งเสริมทัศนคติในด้านบวกและดูแลทางด้านจิตใจแก่สตรีตั้งครรภ์เพื่อจะได้จัดการกับภาวะเครียดได้อย่างเหมาะสม
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 ทัศนคติต่อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 พฤติกรรมปฏิบัติด้านสุขภาพ และความเครียดของสตรีตั้งครรภ์ในประเทศไทยในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใหม่ 2019 กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีตั้งครรภ์ตามคุณสมบัติที่กำหนดจำนวน 283 ราย ตอบแบบสอบถามด้วยตนเองผ่านทางออนไลน์ ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคลแบบประเมินความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการปฏิบัติด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับโควิด-19 ในสตรีตั้งครรภ์ และแบบประเมินความเครียด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติสหสัมพันธ์สเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า สตรีตั้งครรภ์ส่วนใหญ่มีความรู้และพฤติกรรมการปฏิบัติด้านสุขภาพอยู่ในระดับสูง (ร้อยละ 75.62 และ ร้อยละ 88.34 ตามลำดับ) มีทัศนคติและความเครียดอยู่ในระดับปานกลาง (ร้อยละ 78.09 และ ร้อยละ 76.32 ตามลำดับ) ความรู้มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมปฏิบัติด้านสุขภาพ ทัศนคติเชิงลบมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการปฏิบัติด้านสุขภาพและทัศนคติเชิงลบมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความเครียดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยที่ความรู้ไม่มีความสัมพันธ์กับทัศนคติและความเครียด และพฤติกรรมการปฏิบัติด้านสุขภาพไม่มีความสัมพันธ์กับความเครียด ดังนั้น สตรีตั้งครรภ์จึงควรได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่อย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วยให้สตรีตั้งครรภ์สามารถปฏิบัติตัวในการป้องกันการติดเชื้อดังกล่าวได้ รวมทั้งควรมีการส่งเสริมทัศนคติในด้านบวกและดูแลทางด้านจิตใจแก่สตรีตั้งครรภ์เพื่อจะได้จัดการกับภาวะเครียดได้อย่างเหมาะสม