Publication: สถานการณ์ผู้ป่วยครองเตียงนานในโรงพยาบาลที่ไม่สามารถจำหน่ายได้
Issued Date
2561
Resource Type
Language
tha
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
งานสังคมสงเคราะห์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
งานสังคมสงเคราะห์ โรงพยาบาลสระบุรี สำนักบริหารการสาธารณสุข
งานสังคมสงเคราะห์ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
งานสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
งานสังคมสงเคราะห์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
งานสังคมสงเคราะห์ โรงพยาบาลกลาง สำนักการแพทย์
งานสังคมสงเคราะห์ โรงพยาบาลสระบุรี สำนักบริหารการสาธารณสุข
งานสังคมสงเคราะห์ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
งานสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
งานสังคมสงเคราะห์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
งานสังคมสงเคราะห์ โรงพยาบาลกลาง สำนักการแพทย์
Bibliographic Citation
รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 41, ฉบับที่ 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2561), 1-10
Suggested Citation
ศรีสุภา แก้วประพาฬ, ศรินทิพย์ แสงสาตรา, ขนิษฐา บูรณพันศักดิ์, กมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ, นภารัตน์ เอนกบุณย์, สมศิริ บุญศิริ, Srisupha Kaewprapran, Sarintip Saengsartra, Khanittha Booranaphansak, Kamolset Kanggerrure, Naparat Anekboon, Somsiri Boonsiri สถานการณ์ผู้ป่วยครองเตียงนานในโรงพยาบาลที่ไม่สามารถจำหน่ายได้. รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 41, ฉบับที่ 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2561), 1-10. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79558
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
สถานการณ์ผู้ป่วยครองเตียงนานในโรงพยาบาลที่ไม่สามารถจำหน่ายได้
Alternative Title(s)
A Situation of Long-term Patients in the Hospital Who Could Not Be Discharged
Other Contributor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. งานสังคมสงเคราะห์
สำนักบริหารการสาธารณสุข. โรงพยาบาลสระบุรี. งานสังคมสงเคราะห์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ. งานสังคมสงเคราะห์
สภากาชาดไทย. โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. งานสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. งานสังคมสงเคราะห์
สำนักการแพทย์. โรงพยาบาลกลาง. งานสังคมสงเคราะห์
สำนักบริหารการสาธารณสุข. โรงพยาบาลสระบุรี. งานสังคมสงเคราะห์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ. งานสังคมสงเคราะห์
สภากาชาดไทย. โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. งานสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. งานสังคมสงเคราะห์
สำนักการแพทย์. โรงพยาบาลกลาง. งานสังคมสงเคราะห์
Abstract
บทนำ: ปัญหาสถานการณ์ผู้ป่วยครองเตียงนานในโรงพยาบาลที่ยังไม่สามารถจำหน่ายได้ทั่วประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิและระดับตติยภูมิ การศึกษานี้จะทำให้ทราบถึงปัญหาและเป็นแนวทางพัฒนาสร้างระบบการจัดการเพื่อให้เกิดมาตรฐานในระบบบริการสุขภาพในระดับนโยบายต่อไป
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาข้อมูลทางสังคมถึงปัญหาสถานการณ์ผู้ป่วยครองเตียงนาน ซึ่งนำไปสู่แนวทางการวางแผนช่วยเหลือผู้ป่วยครองเตียงที่มีโรคซ้ำซ้อน และส่งเสริมให้บุคลากรทางการแพทย์ที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้านใช้ศักยภาพในการดูแลรักษาอย่างคุ้มค่า รวมทั้งศึกษาแนวทางพัฒนาทรัพยากรเครือข่ายและระบบการจัดการจำหน่ายอย่างมีประสิทธิภาพ
วิธีการศึกษา: การวิจัยเชิงสำรวจโดยใช้แบบสอบถามจากบันทึกรายงานผู้ป่วยของนักสังคมสงเคราะห์ที่ดูแลผู้ป่วยและไม่สามารถจำหน่ายได้ จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา
ผลการศึกษา: สถานการณ์ผู้ป่วยครองเตียงนานในโรงพยาบาลที่มีระยะเวลา 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 86.8 และผู้ป่วยครองเตียงนานมากกว่า 10 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 1.6 โดยผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นโรคเกี่ยวกับหลอดเลือดและระบบประสาท (ร้อยละ 39.5) ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ (ร้อยละ 36.4) และอยู่ในภาวะพึ่งพิงขาดผู้ดูแล (ร้อยละ 65.9) ซึ่งเป็นปัจจัยให้จำหน่ายได้ยาก เมื่อนักสังคมสงเคราะห์ได้ปฏิบัติงานตามกระบวนการช่วยเหลือแล้วยังคงมีผู้ป่วยส่วนหนึ่งค้างอยู่ในหอผู้ป่วย ซึ่งจำเป็นต้องหาทรัพยากรเครือข่ายเพื่อส่งต่อผู้ป่วย แต่ยังคงมีปัญหาด้วยข้อจำกัดหลายประการ
สรุป: ผู้ป่วยส่วนใหญ่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ทำให้ญาติหรือผู้ดูแลปฏิเสธที่จะรับผู้ป่วยไปดูแล และคิดว่าไม่มีความสามารถในการดูแลผู้ป่วย วิธีการจำหน่ายผู้ป่วยครองเตียงนานที่ไม่มีญาติหรือผู้ดูแล คือ การส่งต่อสถานสงเคราะห์ ซึ่งมีข้อจำกัดหลายประการทำให้ไม่สามารถรองรับผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาลได้
Background: In Thailand, the situation of prolonged stay patients tends to increase, especially at the secondary and tertiary care hospitals. The study aims to state this problems and give guidelines to develop management system that could set a standard for health care service. Objectives: To study social background information about the prolonged-stay patients that will lead to planning guideline assisting the prolonged-stay patients with multiple medical condition. Promote medical personnel specialist to use their potential worthily and study guideline to develop network resources and discharge plan efficiently. Methods: A questionnaire-based survey study used data from patient records collected by medical social works. Data analysis was used descriptive statistics. Results: Of the long-term patients in hospitals, 86.8% were stayed for a year; 1.6% were stayed longer than 10 years. Most of patients were diagnosed with stroke (39.5%), unable to assist themselves (36.4%), and unsupported from the family (65.9%). These factors were caused difficulties in discharging them from the hospital. Social work intervention were used and found that some of patients were still remained in the wards and it needs network resources to transfer them through facing a lot of limitations. Conclusions: Because of patients unable to self-care by themselves, these mentioned reasons makes the family and government foster home refuse to take care. Moreover, they not have the knowledge of care management. The only solution being done was referral to the government foster home which so difficult to being served.
Background: In Thailand, the situation of prolonged stay patients tends to increase, especially at the secondary and tertiary care hospitals. The study aims to state this problems and give guidelines to develop management system that could set a standard for health care service. Objectives: To study social background information about the prolonged-stay patients that will lead to planning guideline assisting the prolonged-stay patients with multiple medical condition. Promote medical personnel specialist to use their potential worthily and study guideline to develop network resources and discharge plan efficiently. Methods: A questionnaire-based survey study used data from patient records collected by medical social works. Data analysis was used descriptive statistics. Results: Of the long-term patients in hospitals, 86.8% were stayed for a year; 1.6% were stayed longer than 10 years. Most of patients were diagnosed with stroke (39.5%), unable to assist themselves (36.4%), and unsupported from the family (65.9%). These factors were caused difficulties in discharging them from the hospital. Social work intervention were used and found that some of patients were still remained in the wards and it needs network resources to transfer them through facing a lot of limitations. Conclusions: Because of patients unable to self-care by themselves, these mentioned reasons makes the family and government foster home refuse to take care. Moreover, they not have the knowledge of care management. The only solution being done was referral to the government foster home which so difficult to being served.