Publication: Assessment of the Generally Valid as Predictable Progression/Recurrence Marker by Using Increased Signal Intensity Fluid-Attenuated Inversion Recovery (FLAIR) Within the Postoperative Resection Cavity of Gliomas
Issued Date
2018
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Diagnostic and Therapeutic Radiology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Surgery Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Surgery Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 41, No. 3 (Jul-Sep 2018), 30-41
Suggested Citation
Wiboon Suriyajakryuththana, Theeraphol Panyaping, Sirinut Wattanapaiboonsuk, Peerapong Lueangapapong, วิบูลย์ สุริยจักรยุทธนา, ธีรพล ปัญญาปิง, ศิรินุช วัฒนะไพบูลย์สุข, พีรพงศ์ เหลืองอาภาพงศ์ Assessment of the Generally Valid as Predictable Progression/Recurrence Marker by Using Increased Signal Intensity Fluid-Attenuated Inversion Recovery (FLAIR) Within the Postoperative Resection Cavity of Gliomas. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 41, No. 3 (Jul-Sep 2018), 30-41. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79539
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Assessment of the Generally Valid as Predictable Progression/Recurrence Marker by Using Increased Signal Intensity Fluid-Attenuated Inversion Recovery (FLAIR) Within the Postoperative Resection Cavity of Gliomas
Alternative Title(s)
การประเมินความเที่ยงของค่าความเข้มของสัญญาณสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ในโพรงน้ำหลังผ่าตัดเนื้องอกสมอง โดยใช้เทคนิค FLAIR เพื่อคาดการณ์ภาวะเนื้องอกลุกลาม/เกิดใหม่
Abstract
Background: Monitoring progression/recurrence brain glioma after surgery is the most important for therapeutic planning.
Objective: To verify that an increased signal intensity (SI) in resection cavity of brain glioma by fluid-attenuated inversion recovery (FLAIR) can be predictor of tumor progression/recurrence.
Methods: A retrospective cross-sectional study in patients who underwent surgery at Ramathibodi Hospital with pathological proven brain gliomas (grade II, III, and IV) from January 1, 2010, to July 31, 2016, was performed. Postoperative magnetic resonance imaging (MRI) after 3 months was analyzed and measured for SI in surgical cavity, compared with SI of cerebrospinal fluid (CSF) in the contralateral frontal horn.
Results: Sixteen men and sixteen women with mean age 41.25 years were included. Thirty-one cases had partial resection and one case complete resection. The pathological diagnosis were 20 cases of high-grade gliomas and 12 cases of low-grade gliomas. Chemotherapy and radiotherapy were given in 16 cases. An increased SI in the surgical cavity by FLAIR had sensitivity of 77.3% and specificity of 50%.
Conclusions: Fair specificity and sensitivity of increased FLAIR SI for detection of tumor progression/recurrence was found. However, FLAIR is usually performed in standard MRI with no additional time or radiation hazard.
บทนำ: การติดตามภาวะเนื้องอกลุกลาม/เกิดใหม่ในโพรงน้ำหลังการผ่าตัดเนื้องอกสมองมีความสำคัญมากในการวางแผนการรักษาต่อไป วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินค่าความเข้มของสัญญาณสนามแม่เหล็กไฟฟ้าในโพรงน้ำหลังผ่าตัดเนื้องอกสมอง โดยใช้เทคนิค Fluid-attenuated inversion recovery (FLAIR) สำหรับคาดการณ์ภาวะเนื้องอกลุกลาม/เกิดใหม่ วิธีการศึกษา: การศึกษาย้อนหลังในผู้ป่วยเนื้องอกสมอง (ระดับ 2, 3 และ 4) หลังผ่าตัดที่โรงพยาบาลรามาธิบดี ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2553 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 และได้รับการตรวจติดตามด้วยเครื่องสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (Magnetic resonance imaging, MRI) หลังการผ่าตัดแล้ว 3 เดือน จากนั้นตรวจวัดค่าความเข้มของสัญญาณในโพรงน้ำหลังผ่าตัด เปรียบเทียบกับค่าความเข้มของสัญญาณในน้ำไขสันหลัง ผลการศึกษา: ผู้ป่วยเพศชาย จำนวน 16 คน และผู้ป่วยเพศหญิง จำนวน 16 คน อายุเฉลี่ย 41.25 ปี พบว่า มีผู้ป่วยเหลือเนื้องอกหลังผ่าตัด จำนวน 31 คน และผู้ป่วยที่ไม่เหลือเนื้องอกหลังผ่าตัด จำนวน 1 คน แบ่งเป็น ผู้ป่วยเนื้องอกสมองชนิดร้ายแรง จำนวน 20 คน และผู้ป่วยเนื้องอกสมองชนิดไม่ร้ายแรง จำนวน 12 คน โดยมีผู้ป่วยได้รับการฉายแสงและเคมีบำบัด จำนวน 16 คน ค่าความเข้มของสัญญาณในโพรงน้ำหลังผ่าตัดสามารถประเมินการเกิดเนื้องอกลุกลาม/เกิดใหม่ด้วยความไว คิดเป็นร้อยละ 77.3 และความจำเพาะ คิดเป็นร้อยละ 50 สรุป: การคาดการณ์ภาวะเนื้องอกลุกลาม/เกิดใหม่โดยการตรวจวัดความเข้มของสัญญาณในโพรงน้ำหลังผ่าตัด ให้ผลความไวและความจำเพาะไม่ดีเท่าที่ควร อย่างไรก็ตาม FLAIR เป็นเทคนิคมาตรฐานในการตรวจด้วยเครื่องสนามแม่เหล็กไฟฟ้า จึงไม่ต้องเพิ่มเวลาตรวจและไม่มีอันตรายจากรังสี
บทนำ: การติดตามภาวะเนื้องอกลุกลาม/เกิดใหม่ในโพรงน้ำหลังการผ่าตัดเนื้องอกสมองมีความสำคัญมากในการวางแผนการรักษาต่อไป วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินค่าความเข้มของสัญญาณสนามแม่เหล็กไฟฟ้าในโพรงน้ำหลังผ่าตัดเนื้องอกสมอง โดยใช้เทคนิค Fluid-attenuated inversion recovery (FLAIR) สำหรับคาดการณ์ภาวะเนื้องอกลุกลาม/เกิดใหม่ วิธีการศึกษา: การศึกษาย้อนหลังในผู้ป่วยเนื้องอกสมอง (ระดับ 2, 3 และ 4) หลังผ่าตัดที่โรงพยาบาลรามาธิบดี ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2553 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 และได้รับการตรวจติดตามด้วยเครื่องสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (Magnetic resonance imaging, MRI) หลังการผ่าตัดแล้ว 3 เดือน จากนั้นตรวจวัดค่าความเข้มของสัญญาณในโพรงน้ำหลังผ่าตัด เปรียบเทียบกับค่าความเข้มของสัญญาณในน้ำไขสันหลัง ผลการศึกษา: ผู้ป่วยเพศชาย จำนวน 16 คน และผู้ป่วยเพศหญิง จำนวน 16 คน อายุเฉลี่ย 41.25 ปี พบว่า มีผู้ป่วยเหลือเนื้องอกหลังผ่าตัด จำนวน 31 คน และผู้ป่วยที่ไม่เหลือเนื้องอกหลังผ่าตัด จำนวน 1 คน แบ่งเป็น ผู้ป่วยเนื้องอกสมองชนิดร้ายแรง จำนวน 20 คน และผู้ป่วยเนื้องอกสมองชนิดไม่ร้ายแรง จำนวน 12 คน โดยมีผู้ป่วยได้รับการฉายแสงและเคมีบำบัด จำนวน 16 คน ค่าความเข้มของสัญญาณในโพรงน้ำหลังผ่าตัดสามารถประเมินการเกิดเนื้องอกลุกลาม/เกิดใหม่ด้วยความไว คิดเป็นร้อยละ 77.3 และความจำเพาะ คิดเป็นร้อยละ 50 สรุป: การคาดการณ์ภาวะเนื้องอกลุกลาม/เกิดใหม่โดยการตรวจวัดความเข้มของสัญญาณในโพรงน้ำหลังผ่าตัด ให้ผลความไวและความจำเพาะไม่ดีเท่าที่ควร อย่างไรก็ตาม FLAIR เป็นเทคนิคมาตรฐานในการตรวจด้วยเครื่องสนามแม่เหล็กไฟฟ้า จึงไม่ต้องเพิ่มเวลาตรวจและไม่มีอันตรายจากรังสี