Publication: ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามแผนผ่านสมาร์ทโฟนแอปพลิเคชันต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและการควบคุมอาการของเด็กวัยเรียนโรคหืด
dc.contributor.author | ณัฐกาญจน์ การัณยภาสสกุล | |
dc.contributor.author | อาภาวรรณ หนูคง | |
dc.contributor.author | อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์ | |
dc.contributor.author | Nattakan Karanyapassakul | |
dc.contributor.author | Apawan Nookong | |
dc.contributor.author | Arunrat Srichantaranit | |
dc.date.accessioned | 2024-10-04T07:20:17Z | |
dc.date.available | 2024-10-04T07:20:17Z | |
dc.date.created | 2567-10-04 | |
dc.date.issued | 2567 | |
dc.date.received | 2567-03-03 | |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามแผนผ่านสมาร์ทโฟนแอปพลิเคชันต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและการควบคุมอาการของเด็กวัยเรียนโรคหืด รูปแบบการวิจัย: การวิจัยแบบกึ่งทดลอง วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือ เด็กวัยเรียนโรคหืดที่มารับบริการในคลินิกโรคหืดอย่างง่ายที่โรงพยาบาล 2 แห่ง ในจังหวัดนครปฐม จำนวน 50 คน แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 25 คน มีการจับคู่อายุและระดับการควบคุมอาการโรคหืด กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามแผนผ่านสมาร์ทโฟนแอปพลิเคชันเป็นเวลา 8 สัปดาห์ ตามกรอบแนวคิดทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนของ Ajzen รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบประเมินระดับการควบคุมอาการโรคหืด และแบบประเมินพฤติกรรมการดูแลตนเองของเด็กวัยเรียนโรคหืด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการทดสอบที และไคสแควร์ ผลการวิจัย: เด็กวัยเรียนกลุ่มทดลองมีคะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเองมากกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 4.46, p < .001) และร้อยละของเด็กในกลุ่มทดลองอยู่ในระดับควบคุมอาการได้มากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (gif.latex?\chi2 = 7.22, p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามแผนผ่านสมาร์ทโฟนแอปพลิเคชัน สามารถส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนโรคหืดมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ดีขึ้น ส่งผลให้ระดับการควบคุมอาการโรคหืดดีขึ้น บุคลากรทีมสุขภาพควรนำโปรแกรมฯ ไปประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลตนเองและควบคุมอาการของเด็กวัยเรียนโรคหืด | |
dc.description.abstract | Purpose: To study the effects of a planned behavior program via smartphone applications on asthma care behavior and asthma symptom control in school-age children with asthma. Design: Quasi-experimental research. Methods: The sample included 50 school-aged children from easy asthma clinics at 2 hospitals in Nakhon Pathom province. The participants were assigned into the control group (N = 25) and experimental group (N = 25) matched by age and level of asthma symptom control. In the 8-week program period, the control group received usual care, and the experimental group received a planned behavior program via smartphone applications, which employed Ajzen planned behavior theory. The instruments were asthma symptom control questionnaires and asthma care behavior questionnaires. Data were analyzed by independent t-test and a chi-square test. Main findings: The results revealed that the experimental group had significantly higher scores of asthma care behavior than the control group. (t = 4.46, p < .001), and the experimental group had a significantly higher percentage of children with asthma symptom control levels than those in the control group. (gif.latex?\chi2 = 7.22, p < .05). Conclusion and recommendations: It has been shown that a planned behavior program via smartphone applications can improve asthma care behaviors and levels of asthma symptoms control in school-aged children with asthma. Health care personnel should apply the program to promote asthma care behavior and symptom control among school-aged children with asthma. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/101447 | |
dc.language.iso | tha | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.subject | โรคหืด | |
dc.subject | พฤติกรรมการดูแล | |
dc.subject | เด็กวัยเรียน | |
dc.subject | การควบคุมอาการ | |
dc.subject | ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน | |
dc.subject | asthma | |
dc.subject | care behavior | |
dc.subject | school-age children | |
dc.subject | symptom control | |
dc.subject | theory of planned behavior | |
dc.subject | วารสารพยาบาลศาสตร์ | |
dc.subject | Journal of Nursing Science | |
dc.title | ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามแผนผ่านสมาร์ทโฟนแอปพลิเคชันต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและการควบคุมอาการของเด็กวัยเรียนโรคหืด | |
dc.title.alternative | Effects of a Planned Behavior Program via Smartphone Applications on Asthma Care Behavior and Asthma Symptom Control in School-age Children with Asthma | |
dc.type | Article | |
dcterms.accessRights | open access | |
dcterms.dateAccepted | 2567-06-05 | |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/269096 | |
oaire.citation.endPage | 87 | |
oaire.citation.issue | 3 | |
oaire.citation.startPage | 71 | |
oaire.citation.title | วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 42, ฉบับที่ 3 (ก.ค.-ก.ย. 2567), 71-87 | |
oaire.citation.volume | 42 | |
oairecerif.author.affiliation | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ | |
oairecerif.author.affiliation | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ |
Files
Original bundle
1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
- Name:
- ns-ar-apawan-2567.pdf
- Size:
- 1.18 MB
- Format:
- Adobe Portable Document Format