Publication: ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการฟื้นตัว 24 ชั่วโมง หลังผ่าตัดส่องกล้องผ่านทางหน้าท้องในผู้ป่วยนรีเวชที่เป็นเนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรง
Issued Date
2556
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 31, ฉบับที่ 3 (ม.ค. -มี.ค.2556), 48-56
Suggested Citation
กัญญา แก้วมณี, Kanya Kaewmanee, ศิริอร สินธุ, Siriorn Sindhu ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการฟื้นตัว 24 ชั่วโมง หลังผ่าตัดส่องกล้องผ่านทางหน้าท้องในผู้ป่วยนรีเวชที่เป็นเนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรง. วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 31, ฉบับที่ 3 (ม.ค. -มี.ค.2556), 48-56. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/11198
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการฟื้นตัว 24 ชั่วโมง หลังผ่าตัดส่องกล้องผ่านทางหน้าท้องในผู้ป่วยนรีเวชที่เป็นเนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรง
Alternative Title(s)
Factors Associated with Quality of 24 Hours Post Laparoscopic Surgical Recovery in Benign Gynecologic Patients
Other Contributor(s)
Abstract
วัตถุประสงค์:เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรงของอาการปวดท้องน้อย ระดับความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงก่อนการผ่าตัด ปริมาณการเสียเลือดระหว่างการผ่าตัด และระยะเวลาในการดมยาสลบกับคุณภาพการฟื้นตัว 24 ชั่วโมงหลังผ่าตัดส่องกล้องผ่านทางหน้าท้อง รูปแบบการวิจัย: การศึกษาความสัมพันธ์เชิงพรรณนา วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยนรีเวชที่เป็นเนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรงจํานวน 126 ราย อายุมากกว่า 18 ปี มารับการผ่าตัดส่องกล้องผ่านทางหน้าท้องในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เก็บข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป แบบบันทึกข้อมูลภาวะสุขภาพ แบบประเมินอาการปวดท้องน้อย และแบบประเมินคุณภาพการฟื้นตัวหลังผ่าตัด การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัย: ความรุนแรงของอาการปวดท้องน้อย ปริมาณการเสียเลือดระหว่างการผ่าตัด และระยะเวลาในการดมยาสลบมีความสัมพันธ์เชิงลบกับคุณภาพการฟื้นตัว 24 ชั่วโมงหลังผ่าตัดส่องกล้องผ่านทางหน้าท้องอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ(r = - .30, p < .01, r = - .39, p < .01 และ r = - .21, p < .05 ตามลําดับ) สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลและบุคลากรอื่นในทีมสุขภาพควรส่งเสริมคุณภาพการฟื้นตัวหลังผ่าตัดอย่างมีแบบแผนในผู้ป่วยที่มีการเสียเลือดระหว่างการผ่าตัดในปริมาณมาก เพื่อให้ผู้ป่วยมีคุณภาพการฟื้นตัวหลังผ่าตัดที่ดียิ่งขึ้น
Purpose: To examine the correlations between severity of pelvic pain, preoperative hematocrit,intraoperative blood loss, duration of general anesthesia and quality of 24 hours post laparoscopicsurgical recovery.Design: A descriptive correlational study design.Methods: The sample consisted of 126 benign gynecologic patients undergoing laparoscopicsurgery, over 18 years of age, and admitted to a university hospital in Bangkok. Data were collected usingdemographic data records, health status records, pelvic pain and postoperative quality of recoveryevaluation form (the Quality of Recovery-40; QoR-40). Descriptive statistics and Pearson’s productmoment correlations were employed for data analysis.Main findings: Severity of pelvic pain, intraoperative blood loss and duration of anesthesia weresignificantly and negatively correlated with the quality of 24 hours post laparoscopic surgical recovery(r = - .30, p < .01, r = - .39, p < .01 and r = - .21, p < .05 respectively). Preoperative hematocrit was notcorrelated with the quality of 24 hours post laparoscopic surgical recovery (r = .06, p > .05).Conclusion and recommendations: Nurses and healthcare providers should consider providingintervention to promote postoperative quality of recovery in patients with massive blood loss in order to promote better quality of postoperative recovery.
Purpose: To examine the correlations between severity of pelvic pain, preoperative hematocrit,intraoperative blood loss, duration of general anesthesia and quality of 24 hours post laparoscopicsurgical recovery.Design: A descriptive correlational study design.Methods: The sample consisted of 126 benign gynecologic patients undergoing laparoscopicsurgery, over 18 years of age, and admitted to a university hospital in Bangkok. Data were collected usingdemographic data records, health status records, pelvic pain and postoperative quality of recoveryevaluation form (the Quality of Recovery-40; QoR-40). Descriptive statistics and Pearson’s productmoment correlations were employed for data analysis.Main findings: Severity of pelvic pain, intraoperative blood loss and duration of anesthesia weresignificantly and negatively correlated with the quality of 24 hours post laparoscopic surgical recovery(r = - .30, p < .01, r = - .39, p < .01 and r = - .21, p < .05 respectively). Preoperative hematocrit was notcorrelated with the quality of 24 hours post laparoscopic surgical recovery (r = .06, p > .05).Conclusion and recommendations: Nurses and healthcare providers should consider providingintervention to promote postoperative quality of recovery in patients with massive blood loss in order to promote better quality of postoperative recovery.