Publication: Factors related to preventive behavior regarding HIV/AIDS among university students in Magway Township, Myanmar
Issued Date
2013
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol. 11, No.1 (๋Jan-Apr 2013), 33-45
Suggested Citation
Hsu Wai Naing, Jutatip Sillabutra, Boonyong Keiwkarnka, ซู เว หนิง, จุฑาธิป ศีลบุตร, บุญยง เกี่ยวการค้า Factors related to preventive behavior regarding HIV/AIDS among university students in Magway Township, Myanmar. Journal of Public Health and Development. Vol. 11, No.1 (๋Jan-Apr 2013), 33-45. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62187
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors related to preventive behavior regarding HIV/AIDS among university students in Magway Township, Myanmar
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกัน เอชไอวี/เอดส์ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ในเมืองแมกเวย์ ประเทศพม่า
Other Contributor(s)
Abstract
This cross-sectional descriptive study was carried out to identify preventive behavior and to examine factors
related to preventive behavior among university students regarding HIV/AIDS. Structured questionnaires
were distributed to 296 university students in Magway Township, Myanmar. Descriptive statistics were used to
describe preventive behavior and independent variables: socio-demographic characteristics, knowledge, perception,
influence of the media, personal influences and personal experience. The chi-square test and multiple logistic regression
were used to identify factors related to preventive behavior.
The results show that 89.5% of the students had good preventive behavior regarding HIV/AIDS. More than
90% of the students had only one sexual partner, used a condom when they had sexual activity and carried condoms
when they went out for sexual activity. Over half of the students had a moderate level of knowledge about
HIV/AIDS and 51.4% of the students had negative perceptions toward preventive behavior. Most of the students
got HIV/AIDS-related knowledge from television/videos, journals, magazine, cartoon booklets and pamphlets. Most
students were influenced by health personnel, followed by NGO/INGO personnel, friends and teachers. Multiple
logistic regression revealed that only personal allowances and personal experience showed a significant association
with preventive behavior, when adjusted with other factors.
Even though the preventive behavior of the students was good, some of them still did not understand HIV/
AIDS issues or had misconceptions about such issues. Therefore, health education for the youth about HIV/AIDS
and methods for preventing HIV/AIDS should be routinely conducted to improve the students’ knowledge and to
provide students with a correct understanding of HIV/AIDS and preventive methods.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการป้องกันเอชไอวี/เอดส์และปัจจัยที่ส่งผลต่อการป้องกัน เอชไอวี/เอดส์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยในเมืองแมกเวย์ โดยเก็บข้อมูลจากนักศึกษามหาวิทยาลัย จำนวน 296 คน โดยใช้แบบสอบถามที่สร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ไคว์สแควร์ และการถดถอยลอจิสติกพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 89.5 ของนักศึกษามีพฤติกรรมการป้องกันเอชไอวี/เอดส์ในระดับดี มากกว่าร้อยละ 90 ของนักศึกษามีคู่นอนคนเดียว พกถุงยางอนามัยและใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเมื่อมีเพศสัมพันธ์ มากกว่าครึ่ง หนึ่งของนักศึกษามีระดับความรู้ในระดับปานกลาง และประมาณร้อยละ 51.4 มีการรับรู้เกี่ยวกับการป้องกันเอช ไอวี/เอดส์เชิงลบ นักศึกษาส่วนใหญ่ได้รับความรู้เกี่ยวกับเอชไอวี/เอดส์ ผ่านทางโทรทัศน์ วิดีโอ และสื่อสิ่งพิมพ์ ต่าง ๆ ได้แก่ วารสาร นิตยสาร การ์ตูน และแผ่นพับ สำหรับกลุ่มคนที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันเอชไอ วี/เอดส์ของนักศึกษามากที่สุด ได้แก่ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รองลงมาได้แก่ เจ้าหน้าที่องค์กรเอกชน เพื่อนและครู ผลการวิเคราะห์ถดถอยลอจิสติก พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนตัวที่ได้รับ และประสบการณ์ในการเห็นผู้ป่วยเอชไอวี/เอดส์ มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับพฤติกรรมการป้องกันเอชไอวี/เอดส์ ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า ถึงแม้ว่าพฤติกรรมการป้องกันเอชไอวี/เอดส์ของนักศึกษาจะอย่ในระดับที่ดี แต่นักศึกษาบางส่วนยังมีความเข้าใจในเรื่องเอชไอวี/เอดส์ไม่ถูกต้อง ดังนั้นการให้สุขศึกษาเกี่ยวกับเรื่องเอชไอวี/เอดส์ และ วิธีการป้องกันเอชไอวี/เอดส์ในกลุ่มเยาวชนควรดำเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีความรู้ และมี ความเข้าใจอย่างถูกต้อง
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการป้องกันเอชไอวี/เอดส์และปัจจัยที่ส่งผลต่อการป้องกัน เอชไอวี/เอดส์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยในเมืองแมกเวย์ โดยเก็บข้อมูลจากนักศึกษามหาวิทยาลัย จำนวน 296 คน โดยใช้แบบสอบถามที่สร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ไคว์สแควร์ และการถดถอยลอจิสติกพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 89.5 ของนักศึกษามีพฤติกรรมการป้องกันเอชไอวี/เอดส์ในระดับดี มากกว่าร้อยละ 90 ของนักศึกษามีคู่นอนคนเดียว พกถุงยางอนามัยและใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเมื่อมีเพศสัมพันธ์ มากกว่าครึ่ง หนึ่งของนักศึกษามีระดับความรู้ในระดับปานกลาง และประมาณร้อยละ 51.4 มีการรับรู้เกี่ยวกับการป้องกันเอช ไอวี/เอดส์เชิงลบ นักศึกษาส่วนใหญ่ได้รับความรู้เกี่ยวกับเอชไอวี/เอดส์ ผ่านทางโทรทัศน์ วิดีโอ และสื่อสิ่งพิมพ์ ต่าง ๆ ได้แก่ วารสาร นิตยสาร การ์ตูน และแผ่นพับ สำหรับกลุ่มคนที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันเอชไอ วี/เอดส์ของนักศึกษามากที่สุด ได้แก่ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รองลงมาได้แก่ เจ้าหน้าที่องค์กรเอกชน เพื่อนและครู ผลการวิเคราะห์ถดถอยลอจิสติก พบว่า ค่าใช้จ่ายส่วนตัวที่ได้รับ และประสบการณ์ในการเห็นผู้ป่วยเอชไอวี/เอดส์ มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับพฤติกรรมการป้องกันเอชไอวี/เอดส์ ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า ถึงแม้ว่าพฤติกรรมการป้องกันเอชไอวี/เอดส์ของนักศึกษาจะอย่ในระดับที่ดี แต่นักศึกษาบางส่วนยังมีความเข้าใจในเรื่องเอชไอวี/เอดส์ไม่ถูกต้อง ดังนั้นการให้สุขศึกษาเกี่ยวกับเรื่องเอชไอวี/เอดส์ และ วิธีการป้องกันเอชไอวี/เอดส์ในกลุ่มเยาวชนควรดำเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีความรู้ และมี ความเข้าใจอย่างถูกต้อง