Publication: สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียนในโรงเรียนโสตศึกษา
Issued Date
2563
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. ปีที่ 16, ฉบับที่ 1 (ม.ค. - มิ.ย. 2563), 46-58
Suggested Citation
ภัทรานิษฐ สงประชา, ภัทรพล มหาขันธ์, ธีรศักดิ์ ศรีสุรกุล, Pattranit Songpracha, Pattarapon Maharka, Teerasak Srisurakul สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียนในโรงเรียนโสตศึกษา. วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. ปีที่ 16, ฉบับที่ 1 (ม.ค. - มิ.ย. 2563), 46-58. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/61270
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียนในโรงเรียนโสตศึกษา
Alternative Title(s)
The Environment Supporting Students’ Learning in School for the Deaf
Abstract
งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียนในโรงเรียนโสตศึกษา 6 ด้าน คือ1) ด้านอาคารสถานที่ 2) ด้านหลักสูตร 3) ด้านการเรียนการสอน 4) ด้านการให้บริการผู้เรียน 5) ด้านการจัดกิจกรรมผู้เรียน และ 6) ด้านสังคมกลุ่มเพื่อน และเปรียบเทียบการจัดสภาพแวดล้อม ตามระดับการรับรู้ของครูและนักเรียน ผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน ที่ได้บูรณาการวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยคุณภาพเข้าด้วยกัน โดยใช้แบบสอบถามในการรวบรวมข้อมูลจากครูและนักเรียนในโรงเรียนโสตศึกษา ปีการศึกษา 2561 จำนวน 381 คน และใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากร ซึ่งเป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 7 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย (x ?) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีระดับการรับรู้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียนในโรงเรียนโสตศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และสภาพแวดล้อมด้านกิจกรรมผู้เรียนมีค่าเฉลี่ยของระดับการรับรู้มากที่สุด ส่วนด้านสังคมและกลุ่มเพื่อน มีค่าเฉลี่ยของระดับการรับรู้น้อยที่สุด นอกจากนี้ยังพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีระดับการรับรู้เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมทั้ง 6 ด้าน โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า สภาพแวดล้อมด้านสังคมกลุ่มเพื่อน มีระดับการรับรู้ของครูและนักเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
The purpose of this research is to study 6 aspects of the environment supports students’ learning in school for the deaf, including: 1) physical facilities 2) curriculum 3) learning management 4) services for students 5) activities for students and 6) peer relationships, and to compare the environment management according to the perception of teachers and students. This research used a mixed-method design. Quantitative data were collected through questionnaires from 381 teachers and students in the school for the deaf in the 2018 academic year. Qualitative data were collected through in-depth interviews from 7 key informants. The data were analyzed with a statistical software using frequency, percentage, mean, standard deviation and t-test. The results of the research showed that the sample group has the level of perception, environment which is conducive to the learning of students in the Audiovisual School in the high level. And the activity environment, the sample group had the highest mean scores. As for the society and groups of friends with the lowest level of awareness. Also found that the sample group had perceived levels of environmental aspects in all 6 aspects which were not different in overall. When considering each aspect, it was found that the social environment, friends’ group there was a statistically significant level of perception of teachers and students at the .05 level.
The purpose of this research is to study 6 aspects of the environment supports students’ learning in school for the deaf, including: 1) physical facilities 2) curriculum 3) learning management 4) services for students 5) activities for students and 6) peer relationships, and to compare the environment management according to the perception of teachers and students. This research used a mixed-method design. Quantitative data were collected through questionnaires from 381 teachers and students in the school for the deaf in the 2018 academic year. Qualitative data were collected through in-depth interviews from 7 key informants. The data were analyzed with a statistical software using frequency, percentage, mean, standard deviation and t-test. The results of the research showed that the sample group has the level of perception, environment which is conducive to the learning of students in the Audiovisual School in the high level. And the activity environment, the sample group had the highest mean scores. As for the society and groups of friends with the lowest level of awareness. Also found that the sample group had perceived levels of environmental aspects in all 6 aspects which were not different in overall. When considering each aspect, it was found that the social environment, friends’ group there was a statistically significant level of perception of teachers and students at the .05 level.
Keyword(s)
ความต้องการพิเศษ
การจัดการศึกษาในสายอาชีพ
ผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษทางการเรียนรู้
ผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษทางการเรียนรู้
Environment Supports
Deaf Students
School for the Deaf
วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ
Journal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilities
การจัดการศึกษาในสายอาชีพ
ผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษทางการเรียนรู้
ผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษทางการเรียนรู้
Environment Supports
Deaf Students
School for the Deaf
วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ
Journal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilities