Publication: พฤติกรรมการออกกำลังกายของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา
Issued Date
2560
Resource Type
Language
tha
ISSN
2350-983x
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
กองกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. ปีที่ 4, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2560), 257-276
Suggested Citation
เพชรัต คุณาพันธ์, กิรติ สอนคุ้ม, จุฬารักษ์ เครือจันทร์, นิภาวรรณ วงษ์ใหญ่ พฤติกรรมการออกกำลังกายของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา. วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. ปีที่ 4, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2560), 257-276. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/43797
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
พฤติกรรมการออกกำลังกายของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา
Alternative Title(s)
Exercise behavior of students in Mahidol University, Salaya Campus
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการออกกำลัง
กาย ของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา และ (2) เพื่อศึกษา
แนวทางในการพัฒนาพฤติกรรมการออกกำลังกายของนักศึกษามหาวิทยาลัย
มหิดล วิทยาเขตศาลายา โดยเป็นการวิจัยทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ซึ่ง
กล่มุ ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัย
มหิดล วิทยาเขตศาลายา ที่มาใช้บริการการออกกำลังกายภายในมหาวิทยาลัย
มหิดล จำนวน 388 คน ส่วนผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี
ของมหาวิทยาลัยมหิดล ชั้นปีที่ 1 - 4 ชั้นปีละ 3 คน รวมทั้งสิ้น 12 คน เครื่อง
มือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ ผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ข้อแรก พบว่า ด้านความรู้ทางด้านการ
ออกกำลังกายของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา โดยภาพรวม
มีความรู้ในระดับดีมาก ด้านเจตคติต่อการออกกำลังกายของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายาโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง
(X = 3.23) ด้านการปฏิบัติในการออกกำลังกายของนักศึกษามหาวิทยาลัย
มหิดล วิทยาเขตศาลายา) โดยภาพรวมอยู่ในระดับปฏิบัติบ่อย (X = 3.44) และ
ด้านสิ่งแวดล้อมในการออกกำลังกายของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขต
ศาลายา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X = 3.73) ผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์
ข้อที่สองพบว่า แนวทางในการพัฒนาพฤติกรรมการออกกำลังกายของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา คือ ควรให้มีการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับ
สุขภาพและการออกกำลังกายเพื่อดึงดูดความสนใจแก่นักศึกษาในการออก
กำลังกายมากขึ้น และควรจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ควรจัดให้มีการรณรงค์การ
ออกกำลังกายและการให้ข้อมูลความรู้ด้านการออกกำลังกาย ด้านสุขภาพ รวม
ทั้งโภชนาการผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของมหาวิทยาลัย รวมทั้งทางมหาวิทยาลัย
เพิ่มอุปกรณ์รองรับการใช้บริการซึ่งจะทำให้นักศึกษาสามารถเข้าถึงการบริการ
มากขึ้น
The aims of the present study were to investigate exercise behavior and the strategies to encourage exercise practice in Mahidol university students at the Salaya Campus. The study was separated into quantitative and qualitative sessions, with a questionnaire and a group interview used as study tools, respectively. Three-hundreds and thirty eights students took part in the quantitative session. Twelve students (3 students each from years 1 to 4) were recruited in the group interview session. Results showed that had very good knowledge of exercise. The students attitude to exercise was rated as moderate. Exercise practice was rated as often and the exercise environment were rated as high. In the group interview session, more health promotion activities were suggested to encourage students to participate and adhere to exercise. Moreover, it was suggested that a health promotion campaign, knowledge in exercise, health and nutrition should be published in particularly on social media. In addition, more facilities and services were required to promote exercise practice in Mahidol University students at the Salaya campus.
The aims of the present study were to investigate exercise behavior and the strategies to encourage exercise practice in Mahidol university students at the Salaya Campus. The study was separated into quantitative and qualitative sessions, with a questionnaire and a group interview used as study tools, respectively. Three-hundreds and thirty eights students took part in the quantitative session. Twelve students (3 students each from years 1 to 4) were recruited in the group interview session. Results showed that had very good knowledge of exercise. The students attitude to exercise was rated as moderate. Exercise practice was rated as often and the exercise environment were rated as high. In the group interview session, more health promotion activities were suggested to encourage students to participate and adhere to exercise. Moreover, it was suggested that a health promotion campaign, knowledge in exercise, health and nutrition should be published in particularly on social media. In addition, more facilities and services were required to promote exercise practice in Mahidol University students at the Salaya campus.