Publication:
โปรแกรมโภชนศึกษาในการส่งเสริมพฤติกรรมการเลี้ยงดู ด้านโภชนาการของผู้เลี้ยงดูเด็กวัยก่อนเรียนที่มีภาวะอ้วน เขตกรุงเทพมหานคร

dc.contributor.authorสร้อย มะโนราen_US
dc.contributor.authorอาภาพร เผ่าวัฒนาen_US
dc.contributor.authorวีณา เที่ยงธรรมen_US
dc.contributor.authorเรวดี จงสุวัฒน์en_US
dc.contributor.authorArpaporn Powwattanaen_US
dc.contributor.authorWeena Thaingthamen_US
dc.contributor.authorRewadee Chongsuwaen_US
dc.contributor.correspondenceอาภาพร เผ่าวัฒนาen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาโภชนวิทยาen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาพยาบาลสาธารณสุขen_US
dc.date.accessioned2015-01-22T07:31:39Z
dc.date.accessioned2017-06-30T08:35:23Z
dc.date.available2015-01-22T07:31:39Z
dc.date.available2017-06-30T08:35:23Z
dc.date.created2558
dc.date.issued2553
dc.description.abstractการวิจัยนี้ศึกษาผลของโปรแกรมโภชนศึกษาในการส่งเสริมพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กของผู้เลี้ยงดูด้านโภชนาการในเด็กวัยก่อนเรียนที่มีภาวะอ้วน โดยประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจในการป้องกันร่วมกับการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เลี้ยงดูเด็กวัยก่อนเรียน (อายุ 3-5 ปี) ที่มีภาวะอ้วน จากโรงเรียน 3 แห่งในเขตกรุงเทพมหานคร แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 34 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 41 คน ระยะเวลาการศึกษา 7 สัปดาห์ ระยะทดลอง 3 สัปดาห์ และระยะติดตามผลห่างจากสิ้นสุดการทดลอง 4 สัปดาห์ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Repeated one-way ANOVA และ Independent t-test ผลการวิจัยพบว่าหลังการทดลองและระยะติดตามผล กลุ่มทดลงอมีคะแนนเฉลี่ยความรู้ การรับรู้ความรุนแรง การรับรู้โอกาสเสี่ยง ทัศนคติ ความคาดหวังถึงผลและความสามารถของตนเอง และพฤติกรรมการเลือกอาหารสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ (p-value < .001) เมื่อเปรียบเทียบภายในกลุ่มทดลอง พบว่าทุกตัวแปรที่ศึกษามีคะแนนเฉลี่ยแตกต่างกันเมื่อระยะเวลาเปลี่ยนแปลง (p-value < .001) โดยทุกตัวแปรที่ศึกษามีการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นหลังการทดลอง (p-value < .001) แต่ระยะติดตามผลมีเพียงความรู้และความคาดหวังในความสามารถของตนเองที่สูงกว่าก่อนการทดลอง (p-value < .01) โปรแกรมนี้ช่วยเพิ่มการรับรู้และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม แต่ควรเพิ่มความถี่ของการกระตุ้น และการมีส่วนร่วมของครอบครัวen_US
dc.description.abstractThe purpose of this study was to evaluate the effect of nutrition promotion program for caretakers of obese preschool children. The program applied Health Protection Motivation Theory and participatory learning. The sample included the caretakers of obese preschool children (age 3- 5 years old) from 3 schools in Bangkok. One group was randomly selected as the experimental group with 34 caretakers and the other was comparison group with 41 caretakers. The research procedure was 7 weeks with 3 weeks for intervention period and 4 weeks follow up apart from the end of intervention. Data were collected by self-administered questionnaires. Statistical analysis was performed by using repeated one-way ANOVA and independent t-test. The result of this study indicated that, after the experiment and follow up period, the experimental group had significantly higher mean score of knowledge, perceived severity, perceived vulnerability, attitude, response efficacy, self-efficacy and selected food behavior than the comparison group (p-value < .001). Focusing on experimental group, there was significantly different across time (p-value < .001). Every studied variables had significantly higher mean scores when compared to before intervention (p-value < .01). However, at follow up period, only knowledge and perceived self-efficacy had significantly higher mean scores when compared to after intervention. This program increases perception and behavior change. Nevertheless, it should increase number of booster, and promote family involvement.
dc.identifier.citationวารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 40, ฉบับที่ 2 (2553), 137-149en_US
dc.identifier.issn0125-1678
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2453
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectเด็กวัยก่อนเรียนen_US
dc.subjectภาวะอ้วนen_US
dc.subjectทฤษฎีแรงจูงใจในการป้องกันโรคen_US
dc.subjectการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมen_US
dc.subjectPreschool childrenen_US
dc.subjectObesityen_US
dc.subjectHealth Protection Motivation Theoryen_US
dc.subjectParticipatory Learningen_US
dc.subjectวารสารสาธารณสุขศาสตร์en_US
dc.subjectJournal of Public Healthen_US
dc.titleโปรแกรมโภชนศึกษาในการส่งเสริมพฤติกรรมการเลี้ยงดู ด้านโภชนาการของผู้เลี้ยงดูเด็กวัยก่อนเรียนที่มีภาวะอ้วน เขตกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeNutrition promotion program for caretakers of obese preschool children Bangkok Metropolisen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-arpaporn-2553.pdf
Size:
144.6 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Plain Text
Description:

Collections