Publication:
Factors Related to Diabetic Foot Ulcers in Persons with Type 2 Diabetes

dc.contributor.authorTran Thi Bichen_US
dc.contributor.authorอรพรรณ โตสิงห์en_US
dc.contributor.authorOrapan Thosinghaen_US
dc.contributor.authorวิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิชen_US
dc.contributor.authorWimolrat Puwarawuttipaniten_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2019-06-13T07:21:52Z
dc.date.available2019-06-13T07:21:52Z
dc.date.created2019-06-13
dc.date.issued2017
dc.description.abstractPurpose: To investigate the relationship between age, duration of diabetes, HbA1C, co-morbidity, self-efficacy, and diabetic foot ulcer among persons with type 2 diabetes. Design: Descriptive correlational design. Methods: The sample consisted of 136 persons with type 2 diabetes in the outpatient department, at the Bach Mai Hospital, Hanoi, Vietnam. Data were collected using hospital record and a structured questionnaire. The diabetic foot ulcer was assessed using 60 second Diabetic Foot Screen. Spearman, Rho correlation was employed to test the relationship among variables. Main findings: More than half of subjects were female (60.3%) with mean age of 65.3 years. The majority had type 2 diabetes more than 10 years; hypertension was the most common co-morbid disease with 89%. The mean score of self-efficacy was 54.49 (SD = 8.34) while the mean of diabetic foot ulcer score was 6.05 (SD = 3.14). Age, duration of type 2 diabetes, and co-morbidity were significant positively correlated with the diabetic foot ulcer score (rs = .29, rs = .31, rs = .30; p < .05, respectively) while self-efficacy was negatively correlated with the diabetic foot ulcer score (rs = - .42, p < .05). Conclusion and recommendations: Nurses should routinely assess persons with type 2 diabetes using the 60 second Diabetic Foot Screen, control their co-morbid diseases, and promote their self-efficacy. Standard guidelines to take care feet of diabetic persons concerning those related factors should be developed and implemented.en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง อายุของผู้ป่วย ระยะเวลาของการเป็นโรคเบาหวาน ระดับเฮโมโกลบิน เอวันซี โรคร่วม ความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง และความเสี่ยงในการเกิดแผลเบาหวานที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2 รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายแบบหาความสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยผู้ป่วยเบาหวานประเภท 2 จำนวน 136 คน ที่มารับการรักษาตัว ณ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลบัคมาย กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม เก็บข้อมูลด้วยการใช้แบบสัมภาษณ์และแบบบันทึกข้อมูลจากแฟ้มผู้ป่วย วัดความเสี่ยงในการเกิดแผลที่เท้าด้วยการใช้แบบประเมิน 60 second Diabetic Foot Screen วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ศึกษาด้วยการใช้สถิติ Spearman’s Rho ผลการวิจัย: ผู้ป่วยร้อยละ 60.3 เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 65.3 ปี ส่วนใหญ่เป็นโรคเบาหวานประเภท 2 มานานกว่า 10 ปี โรคร่วมที่พบมากที่สุด (ร้อยละ89) คือ โรคความดันโลหิตสูง ค่าเฉลี่ยของคะแนนความเชื่อในการดูแลตนเอง เท่ากับ 54.49 และค่าเฉลี่ยของคะแนนความเสี่ยงในการเกิดแผลที่เท้า เท่ากับ 6.05 อายุ ระยะเวลาการเป็นโรคเบาหวาน และโรคร่วมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับค่าคะแนนความเสี่ยงของการเกิดแผลที่เท้า (rs = .29, rs = .31, rs = .30; p < .05 ตามลำดับ) ค่าคะแนนความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง มีความสัมพันธ์ทางลบกับค่าคะแนนความเสี่ยงในการเกิดแผลเบาหวานที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2 (rs = - .42, p <. 05) สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรใช้แบบประเมิน 60 second Diabetic Foot Screen เพื่อประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวานอย่างสม่ำเสมอ หาวิธีการในการควบคุมการกำเริบของโรคร่วม และส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีความเชื่อมั่นในการดูแลตนเอง และควรพัฒนาแนวปฏิบัติในการดูแลเท้าสำหรับผู้ป่วย และนำไปใช้ในการสอนให้ผู้ป่วยป้องกันตนเองไม่ให้เกิดแผลที่เท้าen_US
dc.identifier.citationJournal of Nursing Science. Vol.35(Suppl.1), No. 3 (July - September 2017), 13-21en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44079
dc.language.isoengen_US
dc.rightsMahidol Universityen_US
dc.rights.holderคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjecttype 2 diabetesen_US
dc.subjectself-efficacyen_US
dc.subjectdiabetic foot ulceren_US
dc.subjectผู้ป่วยเบาหวานประเภท 2en_US
dc.subjectความเชื่อมั่นในการดูแลตนเองen_US
dc.subjectแผลเบาหวานที่เท้าen_US
dc.subjectวารสารพยาบาลศาสตร์en_US
dc.subjectJournal of Nursing Scienceen_US
dc.titleFactors Related to Diabetic Foot Ulcers in Persons with Type 2 Diabetesen_US
dc.title.alternativeปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความเสี่ยงในการเกิดแผลเบาหวานที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2en_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/116696/89717

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ns-ar-orapan-2017-2.pdf
Size:
198.93 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections