Publication: ภาวะเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดต่อต้านร่างกายหลังปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด : การทบทวนวรรณกรรมและการพยาบาล
Issued Date
2566
Resource Type
Resource Version
Accepted Manuscript
Language
tha
ISSN
2822-1370 (Print)
2822-1389 (Online)
2822-1389 (Online)
Journal Title
วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล
Volume
29
Issue
1
Start Page
1
End Page
14
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล. ปีที่ 29, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2566), 1-14
Suggested Citation
ธัชมน สินสูงสุด, Thachamon Sinsoongsud ภาวะเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดต่อต้านร่างกายหลังปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด : การทบทวนวรรณกรรมและการพยาบาล. วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล. ปีที่ 29, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2566), 1-14. 14. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/98937
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ภาวะเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดต่อต้านร่างกายหลังปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด : การทบทวนวรรณกรรมและการพยาบาล
Alternative Title(s)
Graft-Versus-Host Disease in Allogeneic Hematopoietic Stem Cell Transplantation: Literature Review and Nursing Implications
Author(s)
Author's Affiliation
Abstract
ภาวะเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดต่อต้านร่างกาย เป็นหนึ่งในภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยและเป็นสาเหตุการเจ็บป่วยและตายในผู้ป่วยหลังปลููกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดโดยใช้เซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดของผู้อื่น ภาวะเซลล์ต้านกันแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ ชนิดเฉียบพลันและเรื้อรังภาวะเซลล์ต้านกันชนิดเฉียบพลัน มักปรากฎอาการที่ผิวหนัง ระบบทางเดินอาหารและลำไส้ และตับ ในขณะที่ภาวะเซลล์ต้านกันชนิดเรื้อรังพบได้ในเนื้อเยื่อทุุกระบบของร่างกาย สูตร การให้ยาป้องกันภาวะเซลล์ต้านกัน คือ การให้ยากดภูมิต้านทานผู้ป่วย กลุ่ม แคลซินูริน อินฮิบิเตอร์ร่วมกับยาเมโธเทรกเซท การพิจารณาให้ยาฉีดสเตียรอยด์ชนิดออกฤทธิ์ทั่วร่างกายขนาดสููงได้รับการนำมาใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะเซลล์ต้านกันระดับรุนแรง บทความวิชาการนี้ นำเสนอความรู้พื้นฐาน
ที่่เกี่ยวข้องกับภาวะเซลล์ต้านกันและบทบาทพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะเซลล์ต้านกัน เพื่อที่พยาบาลจะสามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ทางคลินิก การสอนและให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันภาวะเซลล์ต้านกัน การเฝ้าติดตามอาการและอาการแสดงของภาวะเซลล์ต้านกัน เพื่อพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลและเกิดผลลัพธ์การรักษาผู้ป่วยหลังปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดที่มีภาวะเซลล์ต้านกันที่ดีขึ้น
Description
Graft-versus-host disease (GvHD) is one of the most complications and remains a major cause of morbidity and mortality in patients undergoing allogeneic hematopoietic stem cell transplantation. GvHD is divided into acute and chronic GvHD.Acute GvHD generally presents with skin, gastrointestinal and liver symptoms, whereas chronic GvHD affects the whole body tissues. GvHD prophylaxis regimen is generally a calcineurin inhibitor in combination with methotrexate, while high-dose systemic steroids are used for advanced GvHD treatment. This article provides a basic overview of GvHD and presents the nurses’ roles in caring for patients with GvHD. Nurses can apply this information in their clinical practice, teaching, and education, including the topic of GvHD prevention, monitoring signs and symptoms of GvHD, and self-care in managing symptoms. Hopefully, this article could enhance the quality of nursing care and improve outcomes in allogeneic hematopoietic stem cell transplantation.