Publication:
Factors Predicting Infection Prevention Behaviors among Caregivers of Children with Cancer Undergoing Chemotherapy

dc.date.accessioned2024-10-04T08:14:37Z
dc.date.available2024-10-04T08:14:37Z
dc.date.created2024-10-04
dc.date.issued2024
dc.date.received2024-03-03
dc.description.abstractPurpose: The objective of this study was to assess the predictive power of health literacy, family support, and home environment on the infection prevention behaviors of caregivers of children with cancer undergoing chemotherapy. Design: Predictive correlational research. Methods: The study consisted of 80 caregivers of children with cancer, aged 1-15 years, all types of cancer at every state of treatment, who were followed up both inpatient and outpatient units at two tertiary hospitals in Bangkok. Convenience sampling was used to select the caregivers being the primary caregivers of the children while at home, aged 18-59 years, and able to communicate Thai language. Data were collected by using 5 questionnaires including 1) Demographic Data Questionnaire, 2) The Infection Prevention Behaviors Questionnaire, 3) The Health Literacy Questionnaire, 4) The Family Support Questionnaire, and 5) The Home Environment Questionnaire. The data were analyzed using descriptive statistics and stepwise multiple regression. Main findings: The results revealed that overall prevention infection behaviors were high (gif.latex?\bar{X} = 116, SD = 11.69). The mean score of health literacy (gif.latex?\bar{X} = 91.95, SD = 7.02) family support (gif.latex?\bar{X} = 66.18, SD = 9.08) and home environment (gif.latex?\bar{X} = 14.04, SD = 1.36) were also high. Health literacy was the only factor that could predict infection preventive behaviors (gif.latex?\beta = 0.30, t = 2.77, p < .01). Conclusion and recommendations: The caregivers' infection prevention behaviors were influenced by their level of health literacy. Consequently, it is imperative for nurses and healthcare professionals to thoroughly assess the health literacy of caregivers. Then provide support by implementing interventions designed to enhance health literacy in order to improve understanding and application of infection prevention knowledge. These interventions should provide additional channels to access to knowledge, including the preparation of fruits and vegetables, as well as oral assessment and oral hygiene to prevent infections in children with cancer undergoing chemotherapy.
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของความรอบรู้ด้านสุขภาพ การสนับสนุนของครอบครัว สภาพสิ่งแวดล้อมของบ้าน ต่อพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อของผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด รูปแบบการวิจัย: ความสัมพันธ์เชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กอายุ 1-15 ปี โรคมะเร็งทุกชนิด ที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดทุกระยะ มาตรวจรักษาที่โรงพยาบาลตติยภูมิ 2 แห่งในกรุงเทพมหานคร ที่เข้ารับบริการทั้งผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก จำนวน 80 ราย เลือกตัวอย่างแบบสะดวกด้วยเกณฑ์ต้องเป็นผู้ดูแลหลักของผู้ป่วยเด็กขณะอยู่ที่บ้าน อายุ 18-59 ปี และสื่อสารภาษาไทยได้ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบประเมิน 5 ชุดได้แก่ ข้อมูลส่วนบุคคล พฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ การสนับสนุนของครอบครัว และ สิ่งแวดล้อมของบ้าน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสัมประสิทธิ์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัย: ผลการศึกษาพบว่า ผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโดยรวมสูง (gif.latex?\bar{X}= 116, SD = 11.69) ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (gif.latex?\bar{X}= 91.95, SD = 7.02) การสนับสนุนของครอบครัว (gif.latex?\bar{X}= 66.18, SD = 9.08) และสิ่งแวดล้อมของบ้าน (gif.latex?\bar{X}= 14.04, SD = 1.36) อยู่ในระดับสูง ความรอบรู้ด้านสุขภาพเป็นตัวแปรเดียวที่สามารถทำนายพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (gif.latex?\beta = .30, t = 2.77, p gif.latex?< .01) สรุปและข้อเสนอแนะ: ความรอบรู้ด้านสุขภาพมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อของผู้ดูแล ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่พยาบาลและบุคลากรสุขภาพ ควรประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้ดูแล และจัดโปรแกรมเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลมีความเข้าใจข้อมูลความรู้อย่างลึกซึ้ง สามารถนำความรู้ไปปฏิบัติดูแลผู้ป่วยเด็กได้ เพิ่มช่องทางการเข้าถึงความรู้ โดยเฉพาะเรื่องการเตรียมผักและผลไม้ การประเมินและการดูแลช่องปาก เพื่อป้องกันการติดเชื้อสำหรับผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/101449
dc.language.isotha
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderFaculty of Nursing Mahidol University
dc.subjectchildren with cancer
dc.subjectfamily support
dc.subjecthealth literacy
dc.subjecthome environment
dc.subjectinfection prevention behaviors
dc.subjectเด็กโรคมะเร็ง
dc.subjectการสนับสนุนของครอบครัว
dc.subjectความรอบรู้ด้านสุขภาพ
dc.subjectสภาพสิ่งแวดล้อมของบ้าน
dc.subjectพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อ
dc.subjectวารสารพยาบาลศาสตร์
dc.subjectJournal of Nursing Science
dc.titleFactors Predicting Infection Prevention Behaviors among Caregivers of Children with Cancer Undergoing Chemotherapy
dc.title.alternativeปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อของผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด
dc.typeArticle
dcterms.accessRightsopen access
dcterms.dateAccepted2024-06-05
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/269086
oaire.citation.endPage118
oaire.citation.issue3
oaire.citation.startPage105
oaire.citation.titleNursing Science Journal of Thailand. Vol. 42, No. 3 (Jul - Sep 2024), 105-118
oaire.citation.volume42
oairecerif.author.affiliationMahidol University. Faculty of Nursing

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
ns-ar-arunrat-2024.pdf
Size:
795.8 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

Collections