Publication:
Validation of the Omni Scale of perceived exertion for cycle Ergometer exercise in young female: Thai Version

dc.contributor.authorนราวุฒิ นาคคนึงen_US
dc.contributor.authorเมตตา ปิ่นทองen_US
dc.contributor.authorDabayebeh, Ibrahimen_US
dc.contributor.authorรุ่งชัย ชวนไชยะกูลen_US
dc.contributor.authorRobertson, Roberten_US
dc.contributor.authorNarawut Nakkanung
dc.contributor.authorMetta Pinthong
dc.contributor.authorRungchai Chuanchaiyakul
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬาen_US
dc.date.accessioned2015-03-14T07:28:32Z
dc.date.accessioned2017-03-16T08:08:53Z
dc.date.available2015-03-14T07:28:32Z
dc.date.available2017-03-16T08:08:53Z
dc.date.created2015-03-14
dc.date.issued2555
dc.description.abstractPurpose The purpose of this study was to validate of a Thai translated version of OMNI cycle ergometer exercise scale of perceived exertion among young healthy females (N = 17) (18-25 yrs). Methods Heart rate (HR, b/min), oxygen consumption (VO2, L/min), minute ventilation (VE, L/min), respiratory rate (RR, b/min) and ratings of perceived exertion (OMNI cycle Scale; RPE) for the overall body (RPE-O), legs (RPE-L), and chest (RPE-C) were determined at the end of each of 3-min exercise stages in continuously administered exercise tests. Power output (PO) of cycling intensity started at 25 Watt (w) with 25 w incremented in every stage. Subjects performed the exercise test up to 100 w. Results Exercise responses range was for HR: 99.9-153.9 b/min; VO2: 14.20-26.58 ml/kg/min; VE: 15.1-41.7 L/min; RR: 22.3-33.2 b/min and OMNI RPE RPE-O, RPE-L, and RPE-C: 0.8-7.1. Linear regression analyses showed that RPE-O, RPE-L and RPE-C distributed as a positive linear function for all criterion measures (HR, VO2, VE, and RR) (p < 0.01). Correlation between RPE and HR (r: 0.74-0.79, p < 0.01), RPE and VO2 (r: 0.79- 0.80, p < 0.01), RPE and VE (r: 0.82-0.83, p < 0.01), and RPE and RR (r: 0.47-0.49, p < 0.01) were statistically significant. Two-way ANOVA with repeated measures showed that RPE increased at each exercise stage and RPE-L were higher (p < 0.01) than RPE-O and RPE-C. One-way ANOVA with repeated measures showed that HR, VO2, VE, and RR significantly increased with the progression of workload (p < 0.001). Conclusion The Thai translated version of the OMNI Scale of perceived exertion for cycle ergometer exercise concurrent validity is established for young adult female.en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบความตรงระดับความรู้สึกเหนื่อยของออมนิฉบับภาษาไทยสำหรับผู้ใหญ่ ในการประเมินระดับความรู้สึกเหนื่อย ในกลุ่มอาสาสมัครที่มีสุขภาพดีเป็นหญิงจำนวน 17 คน อายุระหว่าง 18-25 ปี อาสาสมัครออกกำลังกายบนจักรยานวัดงานที่กำหนดให้มีระดับความหนักเพิ่มขึ้น วิธีดำเนินการวิจัย อาสาสมัครเข้าร่วมการทดลอง 2 ครั้ง โดยแต่ละการทดลองห่างกันประมาณ 48-72 ชั่วโมง ทำการบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจ, อัตราการใช้ออกซิเจน, อัตราการระบายอากาศ, อัตราการหายใจและประเมินระดับความรู้สึกเหนื่อยของทั้งร่างกาย ขาและการหายใจในระหว่างการออกกำลังกายที่มีการเพิ่มความหนักของจักรยานวัดงานครั้งละ 25 วัตต์ทุกๆ 3 นาที โดยใช้ระดับความรู้สึกเหนื่อยของออมนิ ฉบับภาษาไทยสำหรับผู้ใหญ่ในทุกๆ ช่วงของการออกกำลังกายอาสาสมัครออกกำลังกายจนถึงความหนักของจักรยานวัดงานที่ 100 วัตต์ ผลการวิจัย ในขณะออกกำลังกายอาสาสมัครมีค่าเฉลี่ยของอัตราการเต้นของหัวใจ = 99.9-153.9 ครั้งต่อนาที อัตราการใช้ออกซิเจน = 559.18-1425.18 มิลลิลิตรต่อกิโลกรัมต่อนาที, อัตราการระบายอากาศ = 14.2-26.58 มิลลิลิตรต่อนาทีต่อกิโลกรัม, อัตราการหายใจ = 22.3-33.2 ครั้งต่อนาที และระดับความรู้สึกเหนื่อยของทั้งร่างกาย ขา และการหายใจ = 0.8-7.1นอกจากนี้พบว่าระดับความรู้สึกเหนื่อยของอาสาสมัครมีความสัมพันธ์กับอัตราการเต้นของหัวใจ = (r: 0.74-0.79) อัตราการใช้ออกซิเจน (r: 0.79-0.80), อัตราการระบายอากาศ (r: 0.82-0.83) และอัตราการหายใจ (r: 0.47-0.49 )อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.01) เมื่อเปรียบเทียบระดับความรู้สึกเหนื่อยในขณะออกกำลังกาย พบว่า ระดับความรู้สึกเหนื่อย เพิ่มสูงขึ้นตามระดับความหนักของการออกกำลังกาย (p < 0.01) และระดับความรู้สึกเหนื่อยของขามีค่าสูงกว่าระดับความรู้สึกเหนื่อยของทั้งร่างกายและระดับความรู้สึกเหนื่อยจากการหายใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุปผลการวิจัย ระดับความรู้สึกเหนื่อยของออมนิ ฉบับภาษาไทยสำหรับผู้ใหญ่ มีความตรง สามารถนำไปใช้ได้กับผู้ใหญ่เพศหญิง ในการประเมินระดับความรู้สึกเหนื่อยขณะออกกำลังกาย
dc.identifier.citationJournal of Sports Science and Health. Vol.13, No. 3, (Sep.-Dec. 2012), 100-110en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1423
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderสมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬาแห่งประเทศไทย (สวกท)en_US
dc.subjectระดับความรู้สึกเหนื่อยของออมนิ ฉบับภาษาไทยen_US
dc.subjectความหนักของการออกกำลังกายen_US
dc.subjectอัตราการเต้นของหัวใจen_US
dc.subjectอัตราการใช้ออกซิเจนen_US
dc.subjectอัตราการระบายอากาศen_US
dc.subjectอัตราการหายใจen_US
dc.subjectExercise intensity
dc.subjectOMNI
dc.subjectScale of perceived exertion
dc.subjectHeart rate
dc.subjectOxygen consumption
dc.subjectRPE
dc.subjectOpen Access article
dc.subjectJournal of Sports Science and Health
dc.subjectวารสารวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ
dc.titleValidation of the Omni Scale of perceived exertion for cycle Ergometer exercise in young female: Thai Versionen_US
dc.title.alternativeการตรวจสอบความตรงระดับความรู้สึกเหนื่อยของออมนิ สำหรับการออกกำลังกายด้วยจักรยานในผู้หญิงวัยรุ่น : ฉบับภาษาไทยen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ss-ar-narawut-2012.pdf
Size:
1.66 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Plain Text
Description:

Collections