Publication: Snacks from Thai herbal plants for patients with gastritis and peptic ulcer
Issued Date
2004-12
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Pharmacy Mahidol University
Bibliographic Citation
Thai Journal of Phytopharmacy. Vol.11, No.2 (2004), 1-10
Suggested Citation
Walla Tungrugsasut, Vimol Srisukh, Nuntavan Bunyapraphatsara, Farsai Chanjaruporn, Anan Veenasakulchai, Wilaiwan Thongbainoi Snacks from Thai herbal plants for patients with gastritis and peptic ulcer. Thai Journal of Phytopharmacy. Vol.11, No.2 (2004), 1-10. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/3251
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Snacks from Thai herbal plants for patients with gastritis and peptic ulcer
Alternative Title(s)
ขนมขบเคี้ยวจากสมุนไพรไทยสำหรับผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหาร อักเสบและโรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้
Abstract
Turmeric, banana, and holy basil have shown anti-ulcerogenic activities in several animal
studies. Turmeric exhibited the activity in clinical studies as well. Two formulae of snack bars from
these Thai herbal plants, to be used as supplements in gastritis and peptic ulcer patients, were
developed. Both formulae contained dried ingredients of turmeric (Curcuma longa L.) at 2.5%w/w,
holy basil leaves (Ocimum tenuiflorum L.) at 2.5%w/w, and unripe banana (Musa ABB group
(triploid) cv. ‘Namwaa’) at 8.75%w/w. Formula 1 (natural flavor) and Formula 2 (cocoa flavor)
provided 156.77 and 152.91 Kcal/serving (1 serving = 40 g/5 bars), respectively. Sensory evaluations of
the snacks were carried out among 50 panelists, using 9-point Hedonic scale method. There was no
significant difference between the two formulae.
ขมิ้นชัน กล้วย และกะเพรา แสดงคุณสมบัติ anti-ulcerogenic ในการศึกษาในสัตว์ทดลอง นอกจากนั้นขมิ้นชันยังแสดงคุณสมบัตินี้ในการศึกษาทางคลินิกด้วย ในการศึกษานี้ได้ทำการพัฒนาขนมขบเคี้ยว ในรูป snack bar 2 สูตร จากสมุนไพรไทยทั้ง 3 ชนิด เพื่อใช้รับประทานเสริมเป็นอาหารว่างระหว่างมื้อใน ผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารอักเสบและโรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ ขนมขบเคี้ยวทั้ง 2 สูตร ประกอบด้วย ขมิ้นชัน และใบกระเพราอบแห้งในปริมาณที่เท่ากัน คือ ร้อยละ 2.5 โดยน้ำหนัก และกล้วยน้ำว้าดิบอบแห้ง ร้อยละ 8.75 โดยน้ำหนัก ขนมขบเคี้ยวสูตรที่ 1 (รสธรรมชาติ) และสูตรที่ 2 (รสโกโก้) ให้พลังงาน 156.77 และ 152.91 กิโลแคลอรีต่อหน่วยบริโภค (1 หน่วยบริโภค เท่ากับ 40 กรัม หรือ ขนม 5 ชิ้น) ตามลำดับ เมื่อนำผลิตภัณฑ์ทั้ง 2 สูตรมาประเมินด้วยประสาทสัมผัส โดยใช้วิธี 9-point Hedonic scale ในผู้ประเมิน 50 คน พบว่าทั้ง 2 สูตรได้รับคะแนนความชอบไม่แตกต่างกัน
ขมิ้นชัน กล้วย และกะเพรา แสดงคุณสมบัติ anti-ulcerogenic ในการศึกษาในสัตว์ทดลอง นอกจากนั้นขมิ้นชันยังแสดงคุณสมบัตินี้ในการศึกษาทางคลินิกด้วย ในการศึกษานี้ได้ทำการพัฒนาขนมขบเคี้ยว ในรูป snack bar 2 สูตร จากสมุนไพรไทยทั้ง 3 ชนิด เพื่อใช้รับประทานเสริมเป็นอาหารว่างระหว่างมื้อใน ผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารอักเสบและโรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ ขนมขบเคี้ยวทั้ง 2 สูตร ประกอบด้วย ขมิ้นชัน และใบกระเพราอบแห้งในปริมาณที่เท่ากัน คือ ร้อยละ 2.5 โดยน้ำหนัก และกล้วยน้ำว้าดิบอบแห้ง ร้อยละ 8.75 โดยน้ำหนัก ขนมขบเคี้ยวสูตรที่ 1 (รสธรรมชาติ) และสูตรที่ 2 (รสโกโก้) ให้พลังงาน 156.77 และ 152.91 กิโลแคลอรีต่อหน่วยบริโภค (1 หน่วยบริโภค เท่ากับ 40 กรัม หรือ ขนม 5 ชิ้น) ตามลำดับ เมื่อนำผลิตภัณฑ์ทั้ง 2 สูตรมาประเมินด้วยประสาทสัมผัส โดยใช้วิธี 9-point Hedonic scale ในผู้ประเมิน 50 คน พบว่าทั้ง 2 สูตรได้รับคะแนนความชอบไม่แตกต่างกัน