Publication: ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ และการรับรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติเรื่องการทำความสะอาดมือของบุคลากรทางการพยาบาลในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
Issued Date
2567
Resource Type
Resource Version
Accepted Manuscript
Language
tha
ISSN
2822-1370 (Print)
2822-1389 (Online)
2822-1389 (Online)
Journal Title
วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล
Volume
30
Issue
2
Start Page
224
End Page
238
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล. ปีที่ 30, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2567), 224-238
Suggested Citation
สุุมาวดี สกุุนตนิยม, ถนอมวงศ์ มัณฑจิตร, กำธร มาลาธรรม, อรวรรณ วราภาพงษ์, Sumawadee Skuntaniyom, Thanomvong Muntajit, Kumthorn Malathum, Orawan Warapapong ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ และการรับรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติเรื่องการทำความสะอาดมือของบุคลากรทางการพยาบาลในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย. วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล. ปีที่ 30, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2567), 224-238. 238. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/109348
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ และการรับรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติเรื่องการทำความสะอาดมือของบุคลากรทางการพยาบาลในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
Alternative Title(s)
Relationships between Knowledge, Attitude, and Perception Towards Hand Hygiene Practices among Nursing Personnel in a University Hospital
Author's Affiliation
Abstract
การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธฺระหว่างความรู้ ทัศนคติและการรับรู้ในการปฏิบัติตามเรื่องการทำความสะอาดมือของบุคลากรทางการพยาบาลในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลและผู้ช่วยพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล กรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งหมด 2,687 ราย โดยทำการสุ่มรหัสบุคลากรแบบไม่เฉพาะเจาะจงด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล แบบทดสอบความรู้เรื่องการทำความสะอาดมือ แบบวัดทัศนคติและแบบวัดการรับรู้การปฏิบัติเรื่องการทำความสะอาดมือของบุคลากรที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิและทดสอบค่าความเชื่อมั่นตามเกณฑ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและสหสัมพันธ์ของสเปรียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 59 มีคะแนนเฉลี่ยความรู้อยู่ในระดับต่ำ ร้อยละ 57.5 มีคะแนนเฉลี่ยเรื่องทัศนคติเชิงลบ และร้อยละ 72.8 มีการรับรู้เชิงลบในการปฏิบัติเรื่องการทำความสะอาดมือ นอกจากนี้ พบว่าระดับความรู้และทัศนคติเรื่องการทำความสะอาดมือมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการรับรู้ในการปฏิบัติเรื่องการทำความสะอาดมืออย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ดังนั้น การส่งเสริมความรู้และทัศนคติเชิงบวกจะทำให้บุคลากรมีการรับรู้ที่ดีขึ้นในการปฏิบัติเรื่องการทำความสะอาดมือในโรงพยาบาล ซึ่งจะเป็นแรงเสริมในการปรับปรุงและพัฒนาพฤติกรรมการทำความสะอาดมือในโรงพยาบาลได้
This descriptive research aimed to examine the relationships between knowledge,attitude, and perception towards hand hygiene practices among nursing personnel in a university hospital. The sample comprised 2,687 nursing personnel, including registered nurses and practical nurses, at Ramathibodi Hospital, Bangkok. A random sampling method was used to recruit the participants. The research instruments included a personal data questionnaire, the Hand Hygiene Knowledge Test, the Attitude Towards Hand Hygiene Scale, and the Perception Towards Hand Hygiene Practices Scale, validated by experts and tested for reliability. Data were analyzed using descriptive statistics and Spearman's rank correlation coefficient. The results showed that most participants (59%) had a low level of knowledge about hand hygiene.More than half (57.5%) had negative attitudes towards hand hygiene, and 72.8% had negative perceptions towards hand hygiene practices. Knowledge and attitude towards hand hygiene were significantly positively correlated with the perception towards hand hygiene practices.Therefore, promoting knowledge and a positive attitude towards hand hygiene should be used to improve the more positive perception towards hand hygiene practices among nursing personnel, which will reinforce the improvement and development of hand hygiene behaviors in hospitals.
This descriptive research aimed to examine the relationships between knowledge,attitude, and perception towards hand hygiene practices among nursing personnel in a university hospital. The sample comprised 2,687 nursing personnel, including registered nurses and practical nurses, at Ramathibodi Hospital, Bangkok. A random sampling method was used to recruit the participants. The research instruments included a personal data questionnaire, the Hand Hygiene Knowledge Test, the Attitude Towards Hand Hygiene Scale, and the Perception Towards Hand Hygiene Practices Scale, validated by experts and tested for reliability. Data were analyzed using descriptive statistics and Spearman's rank correlation coefficient. The results showed that most participants (59%) had a low level of knowledge about hand hygiene.More than half (57.5%) had negative attitudes towards hand hygiene, and 72.8% had negative perceptions towards hand hygiene practices. Knowledge and attitude towards hand hygiene were significantly positively correlated with the perception towards hand hygiene practices.Therefore, promoting knowledge and a positive attitude towards hand hygiene should be used to improve the more positive perception towards hand hygiene practices among nursing personnel, which will reinforce the improvement and development of hand hygiene behaviors in hospitals.