Publication: The Use of Music Therapy Interventions to Improve Pre-Reading Skills and Reduce Off-Task Behaviors during Reading Tasks of a Child with Autism Spectrum Disorders
Issued Date
2559
Resource Type
Language
eng
ISBN
1686-6959
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. ปีที่ 12, ฉบับที่ 15 (ม.ค.-ธ.ค. 2559), 121-144
Suggested Citation
วิพุธ เคหะสุวรรณ, Wiputh Kehasuwan The Use of Music Therapy Interventions to Improve Pre-Reading Skills and Reduce Off-Task Behaviors during Reading Tasks of a Child with Autism Spectrum Disorders. วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. ปีที่ 12, ฉบับที่ 15 (ม.ค.-ธ.ค. 2559), 121-144. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1458
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
The Use of Music Therapy Interventions to Improve Pre-Reading Skills and Reduce Off-Task Behaviors during Reading Tasks of a Child with Autism Spectrum Disorders
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
The purpose of this study was to examine the music therapy interventions used to improve pre-reading skills and reduce off-task behaviors during reading tasks of a 6-year-old child with Autism Spectrum Disorders (ASD). This study employed ABAB single-case experimental and qualitative case-study design. In the study, the music therapy interventions (B) were provided four days a week alternatively with non-music conditions each week including five days of baseline phase (A). The Word Reading Test (WRT) was used to evaluate pre-reading skills and Off-task Behavior Observation Form was employed to measure the off-task behaviors of the participant during reading tasks. The results were represented using visual inspection and qualitative case analysis.
The results showed that the word reading scores of the participant were increased during both music and non-music conditions, but the scores rapidly improved during participating in music therapy sessions. In terms of off-task behaviors, participant exhibited off-task behaviors about 50% of the sessions. On the contrary, the off-task decreased dramatically while engaging in music therapy sessions and also reduced during participating in the second non-music phase.
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้กิจกรรมดนตรีบำบัดเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านคำและลดพฤติกรรมไม่มุ่งงานขณะเรียนอ่านในเด็กออทิซึมอายุ 6 ปี โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยกรณีศึกษากรณีเดี่ยว (ABAB single-case design) ร่วมกับการวิจัยกรณีศึกษา (qualitative case study design) การทดลองประกอบด้วยระยะ Baseline คือการเรียนอ่านคำแบบไม่มีดนตรีสลับกับการเรียนอ่านคำแบบมีกิจกรรมดนตรีบำบัด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบทดสอบการอ่านคำ ใช้สำหรับประเมินการทักษะการอ่านคำ และแบบสังเกตการณ์พฤติกรรมไม่มุ่งงาน ใช้สำหรับวัดพฤติกรรมไม่มุ่งงานที่เกิดขึ้นขณะเรียนอ่านของผู้เข้าร่วมวิจัย ข้อมูลทั้งหมดถูกนำมาวิเคราะห์ในเชิง คุณภาพและได้รับการนำเสนอในรูปแบบของกราฟเส้นเพื่อแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการด้านการอ่าน และการลดของพฤติกรรมไม่มุ่งงาน ผลการวิจัยพบว่า คะแนนการอ่านคำของผู้เข้าร่วมวิจัยสูงขึ้นทั้งการเรียนอ่านคำแบบมีกิจกรรมดนตรีบำบัดและไม่มีดนตรี แต่คะแนนการอ่านคำจากการเรียนอ่านแบบมีกิจกรรมดนตรีบำบัดนั้นพัฒนาได้อย่างรวดเร็วมากกว่าการเรียนแบบไม่มีดนตรี สำหรับพฤติกรรมไม่มุ่งงานนั้น ในการเรียนอ่านคำแบบไม่มีดนตรีพบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยแสดงพฤติกรรมไม่มุ่งงานประมาณ 50 % แต่ในทางกลับกัน พฤติกรรมไม่มุ่งงานลดลงอย่างเห็นได้ชัดในการเรียนอ่านคำแบบมีกิจกรรมดนตรีบำบัด เมื่อการเรียนอ่านคำแบบไม่มีดนตรีย้อนกลับมาอีกครั้ง ผู้เข้าร่วมวิจัยแสดงออกพฤติกรรมไม่มุ่งงานเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้กิจกรรมดนตรีบำบัดเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านคำและลดพฤติกรรมไม่มุ่งงานขณะเรียนอ่านในเด็กออทิซึมอายุ 6 ปี โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยกรณีศึกษากรณีเดี่ยว (ABAB single-case design) ร่วมกับการวิจัยกรณีศึกษา (qualitative case study design) การทดลองประกอบด้วยระยะ Baseline คือการเรียนอ่านคำแบบไม่มีดนตรีสลับกับการเรียนอ่านคำแบบมีกิจกรรมดนตรีบำบัด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบทดสอบการอ่านคำ ใช้สำหรับประเมินการทักษะการอ่านคำ และแบบสังเกตการณ์พฤติกรรมไม่มุ่งงาน ใช้สำหรับวัดพฤติกรรมไม่มุ่งงานที่เกิดขึ้นขณะเรียนอ่านของผู้เข้าร่วมวิจัย ข้อมูลทั้งหมดถูกนำมาวิเคราะห์ในเชิง คุณภาพและได้รับการนำเสนอในรูปแบบของกราฟเส้นเพื่อแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการด้านการอ่าน และการลดของพฤติกรรมไม่มุ่งงาน ผลการวิจัยพบว่า คะแนนการอ่านคำของผู้เข้าร่วมวิจัยสูงขึ้นทั้งการเรียนอ่านคำแบบมีกิจกรรมดนตรีบำบัดและไม่มีดนตรี แต่คะแนนการอ่านคำจากการเรียนอ่านแบบมีกิจกรรมดนตรีบำบัดนั้นพัฒนาได้อย่างรวดเร็วมากกว่าการเรียนแบบไม่มีดนตรี สำหรับพฤติกรรมไม่มุ่งงานนั้น ในการเรียนอ่านคำแบบไม่มีดนตรีพบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยแสดงพฤติกรรมไม่มุ่งงานประมาณ 50 % แต่ในทางกลับกัน พฤติกรรมไม่มุ่งงานลดลงอย่างเห็นได้ชัดในการเรียนอ่านคำแบบมีกิจกรรมดนตรีบำบัด เมื่อการเรียนอ่านคำแบบไม่มีดนตรีย้อนกลับมาอีกครั้ง ผู้เข้าร่วมวิจัยแสดงออกพฤติกรรมไม่มุ่งงานเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย