Publication: Visceral Fat Quantitated From CT Colonography Is Associated With the Presence of Colorectal Polyps
Issued Date
2020
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Diagnostic and Therapeutic Radiology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Advanced Diagnostic Imaging Center (AIMC) Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Advanced Diagnostic Imaging Center (AIMC) Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 43, No. 2 (January-March 2020), 1-8
Suggested Citation
Saowanee Srirattanapong, Yasinee Panyawaraporn, Wichan Prasertsilpakul, Jiraporn Laothamatas, เสาวณีย์ ศรีรัตนพงษ์, ญาศินี ปัญญาวราภรณ์, วิชาญ ประเสริฐศิลปกุล, จิรพร เหล่าธรรมทัศน์ Visceral Fat Quantitated From CT Colonography Is Associated With the Presence of Colorectal Polyps. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 43, No. 2 (January-March 2020), 1-8. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72230
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Visceral Fat Quantitated From CT Colonography Is Associated With the Presence of Colorectal Polyps
Alternative Title(s)
ไขมันในช่องท้องที่วัดได้จากการตรวจด้วยเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ลำไส้ใหญ่มีความสัมพันธ์กับการพบติ่งเนื้อของลำไส้ใหญ่
Abstract
Background: An adenomatous polyp is known as a precancerous lesion of colorectal cancer. Detection and removal of adenomatous polyps are essential for colon cancer prevention. Previous studies have found the association between obesity and adenomatous polyp using many parameters.
Objective: To determine the association between visceral fat visualized on computed tomography (CT) colonography (CTC) and colorectal polyps.
Methods: This retrospective case-control study consisted of 280 adult subjects who underwent colon cancer screening by CTC at Ramathibodi Hospital; 129 cases with CT detected colorectal polyps who underwent polypectomy within 6 months, and 151 control subjects who were negative for significant polyps on CTC. Visceral fat areas of all subjects were measured on CT at the umbilical level by a semiautomatic method. Statistical analysis was performed to ascertain associations with the presence of colorectal polyps.
Results: Of 280 adult subjects, there were classified into 4 groups; no polyps (n = 151), hyperplastic polyp (n = 23), low-risk adenomatous polyp (n = 75), and high-risk adenomatous polyp (n = 31). The mean visceral fat areas in 4 groups were 125.1 ± 55.7 cm2, 140.2 ± 63.8 cm2, 147.9 ± 74.2 cm2, and 156.6 ± 63.7 cm2, respectively. There were statistically significant differences in these means visceral fat between the no polyp group and both the low-risk and high-risk adenomatous polyp groups. In multivariate analyses, subjects who had visceral fat areas more than 168.60 cm2 were more likely to have polyps than subjects whose visceral fat areas were less than 93.65 cm2 (P < .05).
Conclusions: Visceral fat was positively associated with the presence of adenomatous colorectal polyps.
บทนำ: ติ่งเนื้อลำไส้ชนิด Adenoma เป็นรอยโรคก่อนเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ การตรวจพบและตัดติ่งเนื้อชนิดนี้ออกเป็นการป้องกันการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้ มีข้อมูลพบว่าติ่งเนื้อชนิด Adenoma มีความสัมพันธ์กับโรคอ้วน วัตถุประสงค์: เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณไขมันภายในช่องท้อง (Visceral fat area) ที่วัดได้จากเอกซเรย์คอมพิวเตอร์กับการพบติ่งเนื้อในลำไส้ใหญ่ วิธีการศึกษา: การศึกษาข้อมูลผู้ป่วยย้อนหลังแบบมีกลุ่มควบคุม โดยเก็บข้อมูลผู้ป่วยที่ได้ทำการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ จำนวน 280 คน โดยเป็นกลุ่มที่พบติ่งเนื้อจากการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์และได้รับการตรวจและตัดติ่งเนื้อด้วยการส่องกล้องลำไส้ใหญ่ จำนวน 129 คน และกลุ่มควบคุมซึ่งไม่พบติ่งเนื้อจากการตรวจด้วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ จำนวน 151 คน การวัดไขมันภายในช่องท้องทำโดยการวัดไขมันจากการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ที่ตำแหน่งระดับสะดือโดยเทคนิค Semiautomatic method จากนั้นทำการวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อหาความสัมพันธ์กับการพบติ่งเนื้อของลำไส้ใหญ่ ผลการศึกษา: ผู้ป่วย จำนวน 280 คน แบ่งเป็น 4 กลุ่มคือ กลุ่มที่ไม่พบติ่งเนื้อ (151 คน) กลุ่มที่พบติ่งเนื้อชนิด Hyperplastic (23 คน) กลุ่มที่พบติ่งเนื้อชนิด Low-risk adenoma (75 คน) และกลุ่มที่พบติ่งเนื้อชนิด High-risk adenoma (31 คน) พบว่า ปริมาณไขมันในช่องท้องมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 125.1 ± 55.7, 140.2 ± 63.8, 147.9 ± 74.2, และ 156.6 ± 63.7 ตารางเซนติเมตร ตามลำดับ โดยค่าเฉลี่ยของไขมันในช่องท้องระหว่างกลุ่มที่ไม่พบติ่งเนื้อ และกลุ่มที่พบติ่งเนื้อทั้งชนิด Low-risk adenoma และ High-risk adenoma มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ และค่าเฉลี่ยของไขมันในช่องท้องระหว่างกลุ่มที่พบติ่งเนื้อชนิด Hyperplastic และกลุ่มที่ไม่พบติ่งเนื้อ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ จากการวิเคราะห์พหุตัวแปรพบว่า คนที่มีไขมันในช่องท้องมากกว่า 168.60 ตารางเซนติเมตร มีโอกาสพบติ่งเนื้อที่ลำไส้ใหญ่ เมื่อเทียบกับคนที่มีไขมันในช่องท้องน้อยกว่า 93.65 ตารางเซนติเมตร (P < .05) สรุป: ไขมันภายในช่องท้องสัมพันธ์กับการพบติ่งเนื้อในลำไส้ใหญ่
บทนำ: ติ่งเนื้อลำไส้ชนิด Adenoma เป็นรอยโรคก่อนเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ การตรวจพบและตัดติ่งเนื้อชนิดนี้ออกเป็นการป้องกันการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้ มีข้อมูลพบว่าติ่งเนื้อชนิด Adenoma มีความสัมพันธ์กับโรคอ้วน วัตถุประสงค์: เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณไขมันภายในช่องท้อง (Visceral fat area) ที่วัดได้จากเอกซเรย์คอมพิวเตอร์กับการพบติ่งเนื้อในลำไส้ใหญ่ วิธีการศึกษา: การศึกษาข้อมูลผู้ป่วยย้อนหลังแบบมีกลุ่มควบคุม โดยเก็บข้อมูลผู้ป่วยที่ได้ทำการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ จำนวน 280 คน โดยเป็นกลุ่มที่พบติ่งเนื้อจากการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์และได้รับการตรวจและตัดติ่งเนื้อด้วยการส่องกล้องลำไส้ใหญ่ จำนวน 129 คน และกลุ่มควบคุมซึ่งไม่พบติ่งเนื้อจากการตรวจด้วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ จำนวน 151 คน การวัดไขมันภายในช่องท้องทำโดยการวัดไขมันจากการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ที่ตำแหน่งระดับสะดือโดยเทคนิค Semiautomatic method จากนั้นทำการวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อหาความสัมพันธ์กับการพบติ่งเนื้อของลำไส้ใหญ่ ผลการศึกษา: ผู้ป่วย จำนวน 280 คน แบ่งเป็น 4 กลุ่มคือ กลุ่มที่ไม่พบติ่งเนื้อ (151 คน) กลุ่มที่พบติ่งเนื้อชนิด Hyperplastic (23 คน) กลุ่มที่พบติ่งเนื้อชนิด Low-risk adenoma (75 คน) และกลุ่มที่พบติ่งเนื้อชนิด High-risk adenoma (31 คน) พบว่า ปริมาณไขมันในช่องท้องมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 125.1 ± 55.7, 140.2 ± 63.8, 147.9 ± 74.2, และ 156.6 ± 63.7 ตารางเซนติเมตร ตามลำดับ โดยค่าเฉลี่ยของไขมันในช่องท้องระหว่างกลุ่มที่ไม่พบติ่งเนื้อ และกลุ่มที่พบติ่งเนื้อทั้งชนิด Low-risk adenoma และ High-risk adenoma มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ และค่าเฉลี่ยของไขมันในช่องท้องระหว่างกลุ่มที่พบติ่งเนื้อชนิด Hyperplastic และกลุ่มที่ไม่พบติ่งเนื้อ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ จากการวิเคราะห์พหุตัวแปรพบว่า คนที่มีไขมันในช่องท้องมากกว่า 168.60 ตารางเซนติเมตร มีโอกาสพบติ่งเนื้อที่ลำไส้ใหญ่ เมื่อเทียบกับคนที่มีไขมันในช่องท้องน้อยกว่า 93.65 ตารางเซนติเมตร (P < .05) สรุป: ไขมันภายในช่องท้องสัมพันธ์กับการพบติ่งเนื้อในลำไส้ใหญ่