Publication: ตัวชี้วัดความยั่งยืนของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนชายฝั่ง ในจังหวัดตรัง
dc.contributor.author | ณัฐทิตา โรจนประศาสน์ | en_US |
dc.contributor.author | วิภาวรรณ ตินนัง | en_US |
dc.contributor.author | ประเสริฐ ทองหนูนุ้ย | en_US |
dc.contributor.author | Natthita Rojchanaprasart | en_US |
dc.contributor.author | Wipawan Tinnungwattana | en_US |
dc.contributor.author | Prasert Tongnunui | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์. | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง. | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-09-19T04:03:14Z | |
dc.date.accessioned | 2019-12-23T09:40:59Z | |
dc.date.available | 2015-09-19T04:03:14Z | |
dc.date.available | 2019-12-23T09:40:59Z | |
dc.date.created | 2015-09-19 | |
dc.date.issued | 2556 | |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดความยั่งยืนของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชน ชายฝั่งในจังหวัดตรังทำการสุ่มตัวอย่างกลุ่มท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนชายฝั่งในจังหวัดตรังแบบ เฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) จำนวน 4 กลุ่ม โดยมีขั้นตอนในการพัฒนาตัวชี้วัดความยั่งยืน 4 ขั้น ตอน คือ ขั้นที่ 1 ทบทวนเอกสารและสังเคราะห์เอกสาร ขั้นที่ 2 พัฒนากรอบแนวคิด/ ตัวชี้วัด ขั้นที่ 3 ทดสอบกรอบแนวคิด/ตัวชี้วัดกับชุมชนชายฝั่ง 4 ชุมชน คือ 1) หยงสตาร์ ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน 2) บ้านพรุจูด ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา 3) เกาะลิบง ตำบลเกาะลิบง อำเภอกันตัง และ 4) เกาะมุกด์ ตำบล เกาะลิบง อำเภอกันตัง ขั้นที่ 4 ทบทวน/ปรับปรุงตัวชี้วัด ผลการศึกษาได้ตัวชี้วัดความยั่งยืนของการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนชายฝั่ง 16 ตัวชี้วัด ใน 4 มิติ (ได้แก่ บริบท ทุนของชุมชน กระบวนการ และ ผลผลิต/ผลลัพธ์) และใน 5 องค์ประกอบ (ได้แก่ ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการท่องเที่ยว ของชุมชนทุนทางสังคมของชุมชนการบริหารจัดการประสิทธิผลของการจัดการการท่องเที่ยวของ ชุมชน และผลกระทบของการจัดการการท่องเที่ยวของชุมชน) ข้อเสนอแนะมิติของตัวชี้วัดความยั่งยืน ตามประเพณีนิยมมี 3 มิติ ประกอบด้วย สิ่งแวดล้อม สังคมและวัฒนธรรม และเศรษฐกิจ ในการพัฒนา ตัวชี้วัดความยั่งยืนของการท่องเที่ยวของชุมชนจะต้องปรับให้เหมาะสมกับชุมชนชายฝั่งได้แก่ มิติบริบท มิติทุนของชุมชน มิติกระบวนการ และมิติผลผลิต/ผลลัพธ์ อีกทั้งการพัฒนาตัวชี้วัดต้องเลือกวิธีการที่ เหมาะสม ได้แก่ การสัมภาษณ์เชิงลึก เนื่องจากผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ แกนนำกลุ่มการท่องเที่ยวซึ่งชาวบ้าน ในพื้นที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกันและการนำตัวชี้วัดนี้ไปใช้ในพื้นที่อื่นจำเป็นต้องปรับปรุงให้ เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่นั้น | en_US |
dc.description.abstract | This study examines sustainability indicators of coastal community-based ecotourism in Trang province. Four community-based ecotourism groups were selected by purposive sampling. There were four steps used in developing the sustainability indicators of coastal community-based ecotourism:step 1 literature review and document synthesis, step 2 developing the conceptual framework/indicators, step 3 testing the conceptual framework/indicators in four communities including, 1) Yong Star, tambon Takam, amphoe Palian, 2) Ban Pruchud, tambon Bohin, amphoe Sikao, 3) Koh Libong, tambon Koh Libong, amphoe Kantang and 4) Koh Muk, tambon Koh Libong, amphoe Kantang and step 4 re vising/ improving the indicators. Results of this study found that, sustainability indicators of coastal community-based ecotourism in Trang province had 16indicators that comprised four dimensions (e.g. context, communities’ social capital, process and output) and five principles (e.g. external factors effecting the communities’ tourism management, communities’ social capital, administration, effectiveness of the communities’ tourism management, and the impacts of communities’ tourism management). The study results suggest that there are three dimensions in conventional sustainability indicators; namely, environment, social and cultural, and economic indicators. In developing sustainability indicators in community-based ecotourism, there must be adaptation to fit with the coastal communities in such dimension as context, communities’ social capital, process, and output. Moreover, development of sustainability indicators should be done with suitable method such as deep-interviews, because main informants are leaders of tourism groups who have different education levels. Finally, use of these sustainability indicators in other areas should be improved to fit with the context of those areas. | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. ปีที่ 5, ฉบับที่ 1 (2558), 78-95. | en_US |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48485 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | Mahidol University. | en_US |
dc.subject | ตัวชี้วัดความยั่งยืน | en_US |
dc.subject | การท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนชายฝั่ง | en_US |
dc.subject | Sustainability Indicators | en_US |
dc.subject | Coastal Community-Based Ecotourism | en_US |
dc.title | ตัวชี้วัดความยั่งยืนของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนชายฝั่ง ในจังหวัดตรัง | en_US |
dc.title.alternative | Sustainability Indicators of Coastal Community-Based Ecotourism in Trang Province | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/article_detail.php?ArticleID=144085 | |
mods.location.url | http://www.en.mahidol.ac.th/thai/publication/2013/2013Sustainability.pdf |
Files
License bundle
1 - 1 of 1