Publication: Hypertension preventive behavior among pre-hypertensive adults in Phutthamonthon district, Nakhon Pathom province, Thailand
Issued Date
2015
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development. Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol. 13, No.3 (Sep - Dec 2015), 51-65
Suggested Citation
Robinson Mariyasoosai, Jiraporn Chompikul, Boonyong Keiwkarnka, Somsak Wongsawass Hypertension preventive behavior among pre-hypertensive adults in Phutthamonthon district, Nakhon Pathom province, Thailand. Journal of Public Health and Development. Vol. 13, No.3 (Sep - Dec 2015), 51-65. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2421
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Hypertension preventive behavior among pre-hypertensive adults in Phutthamonthon district, Nakhon Pathom province, Thailand
Alternative Title(s)
พฤติกรรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงในผู้ใหญ่ที่มีภาวะเสี่ยงสูง ในอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ประเทศไทย
Other Contributor(s)
Abstract
The objectives of this research were to describe the hypertension preventive behavior and related risk
factors among pre-hypertensive adults aged 35 years or older in Phutthamonthon district, Nakhon Pathom
province, Thailand. Stratified sampling was used to select participants. Out of 382 self-administered
questionnaires, only 227 (59.4%) which were completed and met the inclusion criteria. Chi-square tests and
multiple logistic regressions were used to examine associations between independent and dependent variables.
Preventive behavior was regarded as the dependent variable and other factors such as socio-demographic
factors, physical factors, psycho-social factors and cues to action as independent variables.
The results showed that only 22.2% of participants had good preventive behaviors on hypertension.
Chi-square tests revealed that factors significantly associated with hypertension preventive behavior were
occupation, perceived susceptibility, perceived barriers and knowledge levels. After adjusting for other
factors, people who had poor knowledge about hypertension were less likely to have good preventive behavior
compared to those who had good knowledge (Adjusted Odds Ratio=0.36, 95% CI =0.08-1.59).
The findings suggested that health education programs should be strengthened and promoted to overcome
knowledge deficiencies and negative perceptions. People should practice healthy behaviors to prevent
hypertension. Moreover, strategies for overcoming the barriers of the old people, such as using home visits,
should be more promoted.
วัตถุประสงค์ของการวิจัย นี้เพื่อ ศึกษาพฤติกรรมการป้องกัน โรคความดันโลหิตสูงของผู้ใหญ่ที่มี ภาวะเสี่ยงต่อการเป็น โรคความดันโลหิตสูง ในอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ประเทศไทย และศึกษาปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับผู้มีภาวะ เสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบมีชั้นภูมิในการเลือกผู้ร่วมวิจัยซึ่งเป็นผู้ใหญ่ที่อายุตั้งต่ 35 ปีขึ้นไป จากแบบสอบถามทั้งหมด 382 ชุด มีเพียง 227 ชุด (59.4%) ที่ตรงตามเกณฑ์เลือกเข้าในการศึกษานี้และได้ถูก กรอกอย่างสมบูรณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบไคสแคว์และการถดถอยลอจิสติกพหุคูณเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ตัวแปรตามเป็นพฤติกรรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ปัจจัยด้านประชากร ปัจจัยทางกาย ปัจจัยด้านจิตสังคม ปัจจัยที่ชี้นำให้ปฎิบัติ ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 22.2 ของผู้ร่วมวิจัยมีพฤติกรรมที่ดีในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง การทดสอบไคส แคว์พบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงได้แก่ อาชีพ การรับรู้โอกาสเสี่ยงของ โรค การรับรู้ต่ออุปสรรค ระดับความรู้เกี่ยวกับโรค เมื่อปรับอิทธิพลของปัจจัยอื่นๆ แล้ว ผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับโรคความ ดันโลหิตสูงน้อยมีแนวโน้มต่ำที่จะมีพฤติกรรมที่ดีในการป้องกันโรคนี้ (Adj. OR = 0.36, 95% CI = 0.08 – 1.59) ข้อเสนอแนะจากการศึกษานี้ ควรส่งเสริมสนันสนุนโปรแกรมด้านสุขศึกษาเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรค ความดันโรคหิตสูงในกลุ่มผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคนี้ เพื่อขจัดปัญหาการขาดความรู้และการรับรู้เชิงลบในด้านการ ป้องกันโรคความดันโรคหิตสูง นอกจากนี้ควรส่งเสริมให้มีการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุบ่อยขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคในการป้องกัน โรคความดันโรคหิตสูง
วัตถุประสงค์ของการวิจัย นี้เพื่อ ศึกษาพฤติกรรมการป้องกัน โรคความดันโลหิตสูงของผู้ใหญ่ที่มี ภาวะเสี่ยงต่อการเป็น โรคความดันโลหิตสูง ในอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ประเทศไทย และศึกษาปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับผู้มีภาวะ เสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบมีชั้นภูมิในการเลือกผู้ร่วมวิจัยซึ่งเป็นผู้ใหญ่ที่อายุตั้งต่ 35 ปีขึ้นไป จากแบบสอบถามทั้งหมด 382 ชุด มีเพียง 227 ชุด (59.4%) ที่ตรงตามเกณฑ์เลือกเข้าในการศึกษานี้และได้ถูก กรอกอย่างสมบูรณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบไคสแคว์และการถดถอยลอจิสติกพหุคูณเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ตัวแปรตามเป็นพฤติกรรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ปัจจัยด้านประชากร ปัจจัยทางกาย ปัจจัยด้านจิตสังคม ปัจจัยที่ชี้นำให้ปฎิบัติ ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 22.2 ของผู้ร่วมวิจัยมีพฤติกรรมที่ดีในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง การทดสอบไคส แคว์พบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงได้แก่ อาชีพ การรับรู้โอกาสเสี่ยงของ โรค การรับรู้ต่ออุปสรรค ระดับความรู้เกี่ยวกับโรค เมื่อปรับอิทธิพลของปัจจัยอื่นๆ แล้ว ผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับโรคความ ดันโลหิตสูงน้อยมีแนวโน้มต่ำที่จะมีพฤติกรรมที่ดีในการป้องกันโรคนี้ (Adj. OR = 0.36, 95% CI = 0.08 – 1.59) ข้อเสนอแนะจากการศึกษานี้ ควรส่งเสริมสนันสนุนโปรแกรมด้านสุขศึกษาเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรค ความดันโรคหิตสูงในกลุ่มผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคนี้ เพื่อขจัดปัญหาการขาดความรู้และการรับรู้เชิงลบในด้านการ ป้องกันโรคความดันโรคหิตสูง นอกจากนี้ควรส่งเสริมให้มีการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุบ่อยขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคในการป้องกัน โรคความดันโรคหิตสูง