Publication:
ปัจจัยและผลกระทบจากการตั้งครรภ์ซ้ำของสตรีวัยรุ่นไทย: กรณีศึกษาในกรุงเทพมหานคร

dc.contributor.authorฤดี ปุงบางกะดี่en_US
dc.contributor.authorRudee Pungbangkadeeen_US
dc.contributor.authorเอมพร รตินธรen_US
dc.contributor.authorAmeporn Ratinthornen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยาen_US
dc.date.accessioned2018-07-26T09:03:35Z
dc.date.available2018-07-26T09:03:35Z
dc.date.created2561-07-26
dc.date.issued2557
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องและผลกระทบของการตั้งครรภ์ซ้ำของสตรีวัยรุ่นในเขตเมือง รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงคุณภาพ วิธีดำเนินการวิจัย: เลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง เป็นสตรีวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ซ้ำและมีบุตรคนก่อนอายุน้อยกว่า 24 เดือน จําานวน 30 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกตขณะเยี่ยมบ้าน วิเคราะห์ข้อมูลตามเนื้อหาตามแนวคิดของสปราดเลย์ (Spradley) ผลการวิจัย: ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์ซ้ำ สามารถจําาแนกได้ 2 ประเด็นหลักคือ 1. ไม่ได้ตระหนักถึงโอกาสในการตั้งครรภ์ซ้ำ 2. ไม่ได้รับการบริการคุมกําเนิดที่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ผลกระทบของการตั้งครรภ์ซ้ำสามารถสรุปได้ 3 ประเด็นคือ (1) ต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น (2) ไม่สามารถทําหน้าที่ตามบทบาทของมารดาได้อย่างเต็มที่ (3) ไม่มีแรงจูงใจในการศึกษาต่อ สรุปและข้อเสนอแนะ: การให้คําปรึกษาแก่มารดาวัยรุ่นเพื่อส่งเสริมการคุมกําเนิดควรเริ่มตั้งแต่ในระยะตั้งครรภ์ โดยเน้นการสร้างความตระหนักถึงโอกาสและผลกระทบของการตั้งครรภ์ซ้ำ เพื่อให้มารดาวัยรุ่นเห็นความสําาคัญของการคุมกําเนิดที่ต่อเนื่อง หรือการคุมกําเนิดระยะยาว นอกจากนี้ควรให้คําปรึกษาแก่สามีและครอบครัวเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจคุมกําเนิดen_US
dc.description.abstractPurpose: To explore the factors and consequences of repeat pregnancy among urban teenagers. Design: Qualitative study.Methods: A purposive sample of 30 participants who were teenagers with repeat pregnancy and having previous child aged less than 24 months. Data were collected through in-depth interviews and observation during home visit. Data were analyzed by modified Spradley’s method.Main findings: The factors related to repeat pregnancy could be categorized into 2 categories 1) lack of awareness of repeat pregnancy; 2) not receiving effective contraceptive service. In addition, consequences of repeat pregnancy concluded into 3 categories 1) increased financial burden; 2) could not fully perform maternal role; and 3) lack of motivation in continuing education.Conclusion and recommendations: Contraceptive counseling for teenage mothers should be initiated during antenatal period, by increasing awareness of chances and consequences of repeat pregnancy and focusing on continuing contraception use. Additionally, counseling should be also provided to husbands and family members to involve in decision making for contraception.en_US
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.identifier.citationวารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 32, ฉบับที่ 2 ( เม.ย. - มิ.ย. 2557), 23-31en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/21849
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการตั้งครรภ์ซ้ำen_US
dc.subjectสตรีวัยรุ่นen_US
dc.subjectวิจัยเชิงคุณภาพen_US
dc.subjectวารสารพยาบาลศาสตร์en_US
dc.subjectJournal of Nursing Scienceen_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.titleปัจจัยและผลกระทบจากการตั้งครรภ์ซ้ำของสตรีวัยรุ่นไทย: กรณีศึกษาในกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeFactors and Consequences of Repeat Pregnancy among Teenagers: A Case Study in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/27412

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ns-ar-rudee-2557.pdf
Size:
205.24 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections