Publication: ปัจจัยทํานายพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยมะเร็งโลหิตวิทยาที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบําบัด
dc.contributor.author | พิจิตรา เล็กดํารงกุล | en_US |
dc.contributor.author | Pichitra Lekdamrongkul | en_US |
dc.contributor.author | คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล | en_US |
dc.contributor.author | Kanaungnit Pongthavornkamol | en_US |
dc.contributor.author | นพดล ศิริธนารัตนกุล | en_US |
dc.contributor.author | Noppadol Siritanaratkul | en_US |
dc.contributor.author | ธนิษฐา ชมพูบุบผา | en_US |
dc.contributor.author | Thanittha Choompububpa | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-07-29T09:07:31Z | |
dc.date.available | 2018-07-29T09:07:31Z | |
dc.date.created | 2561-07-29 | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอํานาจทํานายของปัจจัยด้าน อายุ เพศ สถานภาพทางการเงิน ความต้องการข้อมูลที่ไม่ได้รับการตอบสนอง และความผาสุกด้านอารมณ์ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยมะเร็งโลหิตวิทยาที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบําบัดรูปแบบการวิจัย: การวิจัยหาความสัมพันธ์เชิงทํานายวิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งโลหิตวิทยาที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบําบัด มารับการตรวจที่หน่วยตรวจโรคโลหิตวิทยา จําานวน 86 คน โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวกตามคุณสมบัติที่กําาหนด เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบสอบถามความต้องการข้อมูลและข้อมูลที่ได้รับ 3) แบบวัดความผาสุกด้านอารมณ์ 4) แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยมะเร็งโลหิตวิทยาที่ได้รับยาเคมีบําาบัด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการดูแลตนเองอยู่ในระดับดี เพศ อายุ สถานภาพทางการเงิน ความต้องการข้อมูลที่ไม่ได้รับการตอบสนอง และความผาสุกด้านอารมณ์ร่วมกันทํานายพฤติกรรมการดูแลตนเองได้ร้อยละ 23.1 อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (R2 = .231, p < .01) โดยความต้องการข้อมูลที่ไม่ได้รับการตอบสนองเป็นปัจจัยที่ทํานายพฤติกรรมการดูแลตนเองได้ดีที่สุด (β = - .30, p < .01) รองลงมาคือ สถานภาพทางการเงิน (β = .26, p < .05) ความผาสุกด้านอารมณ์ (β = .24, p < .05) และอายุ (β = - .20, p < .05) ตามลําดับ ส่วนปัจจัยด้านเพศ ไม่สามารถทํานายพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยมะเร็งโลหิตวิทยาที่ได้รับยาเคมีบําาบัดได้ สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรให้ข้อมูลที่ตอบสนองและตรงตามความต้องการของผู้ป่วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มผู้ป่วยสูงอายุ กลุ่มที่มีสถานภาพทางการเงินไม่ดี และกลุ่มที่มีความผาสุกด้านอารมณ์ต่ำ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการปฏิบัติพฤติกรรมการดูแลตนเองนําไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยมะเร็งโลหิตวิทยาระหว่างได้รับยาเคมีบําบัด | en_US |
dc.description.abstract | Purpose: This study aimed to examine predictive power of gender, age, financial status, unmet information needs, and emotional well-being on self-care behaviors among patients with hematological malignancies receiving chemotherapy.Design: Correlational predictive research.Methods: The study sample consisted of 86 patients with hematological malignancies receiving chemotherapy who attended hematology clinic. The subjects were recruited by convenience sampling. Data were collected using 1) Personal demographic questionnaire, 2) Information needs and information received questionnaires, 3) Emotional well-being scale, and 4) Self-care behaviors questionnaire. Descriptive statistics and multiple regression were employed for data analysis.Main findings: The study findings revealed that self-care behaviors performed by patients with hematological malignancies were in a good level. Gender, age, financial status, unmet information needs, and emotional well-being jointly and significantly explained 23.1% of the variances in self-care behaviors (R2 = .231, p < .01). Unmet information needs best predicted self-care behaviors (β = - .30, p < .01) followed by financial status (β = .26, p < .05), emotional well-being (β = .24, p < .05) and age (β = - .20, p < .05). Gender did not significantly predict self-care behaviors.Conclusion and recommendations: Nurses should give adequate information that meets the patient’s needs. Special attention should be given to the groups with aging, poor financial status, and a low level of emotional well-being in order to promote individuals’ capability of performing good self-care behaviors that leads to a better quality of life in patients with hematological malignancies receiving chemotherapy. | en_US |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจาก China Medical Board of New York Inc. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 32, ฉบับที่ 3 (ก.ค. -ก.ย.2557), 31-41 | en_US |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/21873 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | เคมีบําบัด | en_US |
dc.subject | ความผาสุกด้านอารมณ์ | en_US |
dc.subject | มะเร็งโลหิตวิทยา | en_US |
dc.subject | พฤติกรรมการดูแลตนเอง | en_US |
dc.subject | ความต้องการข้อมูลที่ไม่ได้รับการตอบสนอง | en_US |
dc.subject | วารสารพยาบาลศาสตร์ | en_US |
dc.subject | Open Access article | en_US |
dc.subject | Journal of Nursing Science | en_US |
dc.title | ปัจจัยทํานายพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยมะเร็งโลหิตวิทยาที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบําบัด | en_US |
dc.title.alternative | Factors Predicting Self-care Behaviors among Patients with Hematological Malignancies Receiving Chemotherapy | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://www.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/27186 |