Publication: Application of Forest Gap Model for Sal (Shorea robusta) Forest Succession
Issued Date
2008-12
Resource Type
Language
eng
ISSN
1686-6096
Rights
Mahidol University
Bibliographic Citation
Environment and Natural Resources Journal. Vol. 6, No.2 (Dec. 2008), 1- 18.
Suggested Citation
Dipak Jnawali, Raywadee Roachanakanan, Kulvadee Kansuntisukmongkol, กุลวดี แก่นสันติสุขมงคล, เรวดี โรจนกนันท์ Application of Forest Gap Model for Sal (Shorea robusta) Forest Succession. Environment and Natural Resources Journal. Vol. 6, No.2 (Dec. 2008), 1- 18.. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48079
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Application of Forest Gap Model for Sal (Shorea robusta) Forest Succession
Alternative Title(s)
การประยุกต์ใช้แบบจำลองช่องว่างในป่าสำหรับการทดแทนของป่าซาล์
Other Contributor(s)
Abstract
The Shorea roubsta (sal) forest dominated in lowland of Nepal has ecologically and economically significant values. Chitawan National Park (CNP), a protected area in central lowland of Nepal was selected for the study and species composition, basal area and stem density were recorded and measured from 20 sampling plots. Together with secondary and primary data from consultation with experts, all data were used to reparameterize the KIAMBRAM model. The KIAMBRAM model is an individual-based forest gap model in the JABOWA-FORET model family and is developed for subtropical rainforest in Australia. The application of the KIAMBRAM model for prediction of the natural sal forest stand dynamics of subtropical region of Nepal is the goal of the study. Four major components (subroutines); GROW, BIRTH, KILL and CHABLI of the KIAMBRAM model were selected. The model was first test through the qualitative comparison of species composition of each successional stage, i.e., early successional stage, mid-successional stage, late successional stage and mature stage. Species composition from the simulated model results at mature stage was compared with field data, whereas for other stages the simulated model results were compared with those of available literature. The results showed that the best match between the simulated model results and data of CNP forest was for mature stage and also for early successional stage where the results were satisfactorily matched whereas for mid-successional and late-successional stages, the results were fairly matched. It can be concluded that the KIAMBRAM model has a potential to be used as a tool to gain knowledge on the succession of sal forest dynamics in Nepal.
ป่าซาล์ (Sal) (Shorea robusta ) เป็นป่าที่ตั้งอยู่ในบริเวณพื้นที่ราบต่ำของประเทศเนปาล ซึ่งมีความสำคัญในทางนิเวศวิทยาและเศรษฐกิจ และเป็นป่าในเขตสงวนของอุทยานแห่งชาติชิตวันซึ่งเป็นพื้นที่ราบต่ำตอนกลางของประเทศเนปาล ได้ถูกคัดเลือกขึ้นมาใช้เป็นกรณีศึกษา คลอบคลุมพื้นที่ตัวอย่างทั้งหมด 20 แปลง ซึ่งเป็นป่าที่มีช่วงการเจริญเติบโตสมบูรณ์เต็มที่แล้ว เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการศึกษาการทดแทนป่าโดยได้นำแบบจำลองช่องว่างในป่ามาประยุกต์ใช้ในป่าซาล์ซึ่งสามารถใช้เป็นต้นแบบของป่าในเขตร้อนได้ ซึ่งการศึกษาดังกล่าวมีการศึกษาใน 4 ปัจจัยหลักที่สำคัญ คือ การเจริญเติบโต การเกิด การตาย และ การเกิดช่องว่างของแบบจำลองชื่อ KIAMBRAM โดยใช้ตัวแปรของชนิดที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรม ในแบบจำลองเพื่อศึกษาพลวัตของป่าซาล์ในช่วงต่างๆ ของการทดแทน ได้แก่ ช่วงต้น ช่วงกลาง ช่วงปลาย และช่วงสมบูรณ์เต็มที่ จากการศึกษาวิจัยสามารถสรุปผลได้ว่าการนำแบบจำลองช่องว่างในป่าสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการศึกษาการทดแทนในป่าซาล์ได้ และจะเป็นประโยชน์มากกว่านี้ต่อการศึกษาป่าซาล์ ถ้าหากสามารถปรับค่าต่างๆ ในแบบจำลองได้ ซึ่งสมควรต่อการนำมาแก้ไขดัดแปลงต่อไป
ป่าซาล์ (Sal) (Shorea robusta ) เป็นป่าที่ตั้งอยู่ในบริเวณพื้นที่ราบต่ำของประเทศเนปาล ซึ่งมีความสำคัญในทางนิเวศวิทยาและเศรษฐกิจ และเป็นป่าในเขตสงวนของอุทยานแห่งชาติชิตวันซึ่งเป็นพื้นที่ราบต่ำตอนกลางของประเทศเนปาล ได้ถูกคัดเลือกขึ้นมาใช้เป็นกรณีศึกษา คลอบคลุมพื้นที่ตัวอย่างทั้งหมด 20 แปลง ซึ่งเป็นป่าที่มีช่วงการเจริญเติบโตสมบูรณ์เต็มที่แล้ว เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการศึกษาการทดแทนป่าโดยได้นำแบบจำลองช่องว่างในป่ามาประยุกต์ใช้ในป่าซาล์ซึ่งสามารถใช้เป็นต้นแบบของป่าในเขตร้อนได้ ซึ่งการศึกษาดังกล่าวมีการศึกษาใน 4 ปัจจัยหลักที่สำคัญ คือ การเจริญเติบโต การเกิด การตาย และ การเกิดช่องว่างของแบบจำลองชื่อ KIAMBRAM โดยใช้ตัวแปรของชนิดที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรม ในแบบจำลองเพื่อศึกษาพลวัตของป่าซาล์ในช่วงต่างๆ ของการทดแทน ได้แก่ ช่วงต้น ช่วงกลาง ช่วงปลาย และช่วงสมบูรณ์เต็มที่ จากการศึกษาวิจัยสามารถสรุปผลได้ว่าการนำแบบจำลองช่องว่างในป่าสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการศึกษาการทดแทนในป่าซาล์ได้ และจะเป็นประโยชน์มากกว่านี้ต่อการศึกษาป่าซาล์ ถ้าหากสามารถปรับค่าต่างๆ ในแบบจำลองได้ ซึ่งสมควรต่อการนำมาแก้ไขดัดแปลงต่อไป