Publication: Correlates of practicing nursing standard infectious control for aids precaution through nursing intervention among ER nurses in Surat Thani Province
Issued Date
2007
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-1678
Rights
Mahidol university
Rights Holder(s)
Mahidol university
Bibliographic Citation
Journal of Public Health. Vol.37, No.1 (2007), 55-66
Suggested Citation
Sulee Thongvichean, Punyarat Lapvongwatana, Priyakamon Khan, Sasipen Homsanit, สุลี ทองวิเชียร, ปัญญรัตน์ ลาภวงศ์วัฒนา, ปรียากมล ข่าน Correlates of practicing nursing standard infectious control for aids precaution through nursing intervention among ER nurses in Surat Thani Province. Journal of Public Health. Vol.37, No.1 (2007), 55-66. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2513
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Correlates of practicing nursing standard infectious control for aids precaution through nursing intervention among ER nurses in Surat Thani Province
Alternative Title(s)
การทบทวนงานวิจัยการออกกำลังกายสำหรับผู้ที่มีอาการของโรคข้อเข่าเสื่อม
Corresponding Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
The present study aims examine the correlates of practicing of nursing standard infectious
control for AIDS precautions (NSICAP) among all 129 professional nurses who worked in the
emergency room of 20 governmental hospitals in Surat Thani Province. The research instrument was
a self-administered questionnaire comprised of 5 parts: (1) sociodemographic factors, (2) predisposing
factors, (3) enabling factors, (4) reinforcing factors and (5) practices of NSICAP with a reliability
of part 1-3 of 0.71, 0.67 and 0.75, respectively. The results revealed that nearly half (48.1%) of the
ER professional nurses practiced NSICAP at a low level and about one-third (31.7%) were practicing
at a high level. Nurses practiced NSICAP well in the items concerning blood and its handling and
body fluid discharge during wound dressing. The items in which nurses practiced poorly (< 80%)
were protecting themselves from the contamination of specimens. The perceived benefit (r = -0.248,
p < 0.005) and perception of policy (r = -0.371, p < 0.001) were significantly and negatively correlated
with the practice of NSICAP. Age, marital status, educational level, working experience in emergency
room, perceived susceptibility, perceived severity, perception of facilities, working experience with
AIDS patients, and working experience with other communicable disease patients and training with
AIDS precautions were not associated with the practice of NSICAP. The present study suggested
that the training program for AIDS precautions for professional nurses should be promoted more
completely and emphasized upon an awareness of the practice of NSICAP for prevention and
transmission of HIV efforts at all times and conditions. The outcomes of AIDS precautions training
programs among nurses, especially for those at a poor level of practice, should be monitored
continuously. Providing related manuals or practical guidelines for every department also needed to
be addressed.
งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการปฏิบัติการพยาบาลตามมาตรฐานการระวังและควบคุมการติดเชื้อเอดส์ (NSICAP) ของพยาบาลวิชาชีพของรัฐ จังหวัดสุราษฏร์ธานี และศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางประชากร ปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริม และปฏิบัติการพยาบาลตามมาตรฐานการระวังและควบคุมการติดเชื้อเอดส์ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานห้องอุบัติเหตุในโรงพยาบาลของรัฐ จังหวัดสุราษฏร์ธานี จำนวน 129 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม แบ่งเป็น 5 ส่วน ได้แก่ 1) ปัจจัยทางประชากร 2) ปัจจัยนำ 3) ปัจจัยเอื้อ 4) ปัจจัยเสริม และ 5) การปฏิบัติการพยาบาลตามมาตรฐาน การระวังและควบคุมการติดเชื้อเอดส์ (NSICAP) ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามในส่วนที่ 2, 3 และ 5 เท่ากับ 0.71, 0.67 และ 0.75 ตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่า พยาบาลเกือบครึ่งหนึ่งปฏิบัติตามมาตรฐานการระวังและควบคุมการติดเชื้อเอดส์ อยู่ในระดับที่ไม่ดี (ร้อยละ 48.1) และประมาณ 1 ใน 3 อยู่ในระดับดี (ร้อยละ 31.7) รายการที่พยาบาลปฏิบัติได้ดี ได้แก่ การปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับเลือดและสารคัดหลั่งขณะทำแผล รายการที่ปฏิบัติได้ไม่ดี ได้แก่ การป้องกันตนเองจากการสัมผัสกับสิ่งปนปื้อน ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติการพยาบาลตามมาตรฐานการระวังและควบคุมการติดเชื้อเอดส์ ได้แก่ การรับรู้ประโยชน์ (r = -0.248, p < 0.005) และการรับรู้นโยบายของรัฐบาล (r = -0.371, p < 0.001) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ปัจจัยด้านอายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ประสบการณ์การปฏิบัติงานในห้องอุบัติเหตุ การรับรู้ความเสี่ยง การรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้สิ่งเอื้ออำนวย การได้รับการฝึกอบรม ประสบการณ์ปฏิบัติงานกับผู้ป่วยโรคเอดส์และผู้ป่วยโรคติดต่ออื่นๆ ไม่มีความสัมพันธ์กันกับการปฏิบัติตามมาตรฐานการระวังและควบคุมการติดเชื้อเอดส์ ข้อเสนอแนะจากการวิจัย ได้แก่ การฝึกอบรมที่เน้นการสร้างความตระหนัก ให้เห็นถึงความสำคัญของการปฏิบัติตามมาตรฐานการระวังและควบคุมการติดเชื้อเอดส์ในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ และการควบคุมกำกับผลลัพธ์จากการฝึกอบรมโดยเฉพาะกลุ่มพยาบาลที่มีทักษะในการปฏิบัติที่ยังไม่ดี จัดหาคู่มือการปฏิบัติตามมาตรฐานการระวังและควบคุมการติดเชื้อเอดส์ไว้ในหน่วยงานห้องอุบัติเหตุทุกหน่วยงาน