Publication: Student Involvement in Developing Sustainable Practices: A Case Study of Waste Receptacle Evolution at Mahidol University International College
Issued Date
2017-08
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
Journal of Professional Routine to Research. Vol 4, (August 2017), 1-8
Suggested Citation
Ditthayanan Punyaratabandhu, ฑิตยนันท์ บุณยรัตพันธุ์, Tumnoon Charaslertrangsi, ธรรมนูญ จรัสเลิศรังษี Student Involvement in Developing Sustainable Practices: A Case Study of Waste Receptacle Evolution at Mahidol University International College. Journal of Professional Routine to Research. Vol 4, (August 2017), 1-8. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/3322
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Student Involvement in Developing Sustainable Practices: A Case Study of Waste Receptacle Evolution at Mahidol University International College
Alternative Title(s)
การมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการสร้างนิสัยการปฏิบัติอย่างยั่งยืน:กรณีศึกษาวิวัฒนาการถังขยะที่วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล
Other Contributor(s)
Abstract
Proper waste management is a key step to sustainability. A whole-of-university approach can be used
to bring together curricula, research and campus operations to develop sustainable practices. However, this
approach does not consider the possible contribution from students. This study examines the role of student
involvement in the evolution of waste receptacles at Mahidol University International College using the case
of a student project conducted in the ICNS257 Environmental Issues class, T.3/2015-2016. Results and
analyses from the project were used to develop recommendations for improving the waste management
system at the College which the students then presented to staff and faculty. The study concludes that student
involvement plays an important role in contributing to the development of effective waste separation and
sustainable practices in the future. Thus, a modified whole-of-university approach should be adopted that
includes students as a main component, and not just a product, of institutional sustainability.
การจัดการขยะเป็นขั้นตอนสำคัญเพื่อการอยู่อย่างยั่งยืน การใช้แนวคิดแบบรวมองค์ประกอบมหาวิทยาลัย (whole-of-university approach) สามารถช่วยสร้างความยั่งยืนในมหาวิทยาลัยโดยการบูรณาการความรู้จากฝ่ายการศึกษางานวิจัยและงานปฏิบัติการ แต่กรอบความคิดนี้ไม่ได้คำนึงถึงการมีส่วนร่วมของนักศึกษา การศึกษานี้ได้สำรวจบทบาทของนักศึกษาในการปรับการออกแบบถังขยะที่วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยใช้กรณีศึกษาจากงานกลุ่มในวิชา ICNS257 Environmental Issues (เทอม 3/2558-2559) นักศึกษาได้ใช้ผลการศึกษาและผลการวิเคระห์จากงานกลุ่มเพื่อพัฒนาคำแนะนำเกี่ยวกับการปรับปรุงระบบจัดการขยะที่วิทยาลัยนานาชาติและได้นำเสนอผลงานให้กับเจ้าหน้าที่และอาจารย์จากการศึกษานี้ พบว่า การมีส่วนร่วมของนักศึกษามีบทบาทสำคัญในการพัฒนาระบบการแยกขยะและการสร้างพฤติกรรมที่ยังยืนในอนาคต ดังนั้นจึงเสนอให้ดัดแปลงแนวคิดแบบ whole-of-university approach เพื่อรวมนักศึกษาเป็นองค์ประกอบสำคัญไม่ใช่เป็นเพียงผลผลิตของความยั่งยืนในมหาวิทยาลัย
การจัดการขยะเป็นขั้นตอนสำคัญเพื่อการอยู่อย่างยั่งยืน การใช้แนวคิดแบบรวมองค์ประกอบมหาวิทยาลัย (whole-of-university approach) สามารถช่วยสร้างความยั่งยืนในมหาวิทยาลัยโดยการบูรณาการความรู้จากฝ่ายการศึกษางานวิจัยและงานปฏิบัติการ แต่กรอบความคิดนี้ไม่ได้คำนึงถึงการมีส่วนร่วมของนักศึกษา การศึกษานี้ได้สำรวจบทบาทของนักศึกษาในการปรับการออกแบบถังขยะที่วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยใช้กรณีศึกษาจากงานกลุ่มในวิชา ICNS257 Environmental Issues (เทอม 3/2558-2559) นักศึกษาได้ใช้ผลการศึกษาและผลการวิเคระห์จากงานกลุ่มเพื่อพัฒนาคำแนะนำเกี่ยวกับการปรับปรุงระบบจัดการขยะที่วิทยาลัยนานาชาติและได้นำเสนอผลงานให้กับเจ้าหน้าที่และอาจารย์จากการศึกษานี้ พบว่า การมีส่วนร่วมของนักศึกษามีบทบาทสำคัญในการพัฒนาระบบการแยกขยะและการสร้างพฤติกรรมที่ยังยืนในอนาคต ดังนั้นจึงเสนอให้ดัดแปลงแนวคิดแบบ whole-of-university approach เพื่อรวมนักศึกษาเป็นองค์ประกอบสำคัญไม่ใช่เป็นเพียงผลผลิตของความยั่งยืนในมหาวิทยาลัย