Publication: อวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อน
Issued Date
2554
Resource Type
Language
tha
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 34, ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2554), 122-125
Suggested Citation
สมเกียรติ สีตวาริน, Somkiat Sitavarin อวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อน. รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 34, ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2554), 122-125. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79821
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
อวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อน
Alternative Title(s)
Pelvic Organ Prolapse
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
ในปัจจุบันประชากรมีแนวโน้มที่มีอายุยาวนานขึ้น เนื่องจากการบริการด้านสาธารสุขที่ดีขึ้น ร่วมกับประชากรที่มีความสนใจในการดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น ทำให้แนวโน้มประชาชนมีอายุยาวนานขึ้น คาดว่าประชากรเพศชายมีอายุขับเฉลี่ย 68 ปี และประชากรเพศหญิงมีอายุขัยเฉลี่ย 75 ปี ซึ่งยาวนานกว่าประชาชากรเพศชาย อายุเฉลี่ยของหญิงไทยในการเข้าสู่วัยหมดระดู 48 ปี ทำให้หญิงไทยที่อยู่ในวัยหมดระดูมีจำนวนมากขึ้น ปัญหาหนึ่งที่สำคัญที่พบบ่อยในประชากรกลุ่มนี้คือ ภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อนคาดการณ์ว่าหญิงไทยวัยหมดระดูที่มีปัญหาอวัยวะอุ้งเชิงกรานหย่อนถึงร้อยละ ซึ่งแนวโน้มจะพบสูงขึ้น
อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีการศึกษาวิจัยที่แน่นอนว่า การลดน้ำหนัก หลีกเลี่ยงการยกของหนัก หลีกเลี่ยงการท้องผูก จะช่วยป้องกันภาวะอวัยวะอุ้งเชิงกรานหย่อน การผ่าตัดคลอดหน้าท้องก่อนที่จะมีการเจ็บครรภ์ (Elective cesarean section) สามารถลดการเกิดอวัยวะอุ้งเชิงกรานหย่อนได้ แต่ก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ การขมิบช่องคลอดเพื่อป้องกันภาวะอวัยวะอุ้งเชิงกรานหย่อนก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่