Publication: A linguistic view on the English-Thai lexeme “CHILD”
Issued Date
2014
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Liberal Arts Mahidol University
Bibliographic Citation
The Journal. Vol.10, No.1 (2014), 23-40
Suggested Citation
Rungpat Roengpitya A linguistic view on the English-Thai lexeme “CHILD”. The Journal. Vol.10, No.1 (2014), 23-40. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/9944
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
A linguistic view on the English-Thai lexeme “CHILD”
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
In learning a second language (L2), before acquiring other higher linguistic levels, L2 learners tend to first perceive the L2 words, meanings, and contexts, which may or may not be the same as the first language (L1) set due to the different perceptions and thinking (Field, 2003, p. 65). Thus, it is interesting to comparatively study the meanings and contexts of particular basic words found in both languages. In this paper, the lexical word “CHILD” in English and in Thai was chosen (Haas, 1964, pp. 487-489), as the lexeme “CHILD” is universally found and exists in every culture. In this paper, the lexeme “CHILD” was examined based on the semantic and cognitive theories. The results revealed that this lexeme “CHILD” in English and Thai had the extended meanings and usage. It is hoped that this study will help enhance the understanding of the L1-L2 studies in linguistics and liberal arts.
ในการเรียนภาษาที่่สองนั้น ผู้เรียนภาษาที่่สองน่าจะเรียนรู้ คำ ความหมาย และปริบทของภาษาที่่สองก่อนหน้าที่จะเรียนภาษาในระดับสูงขึ้น คำ ความหมาย และปริบทของภาษาที่สองอาจจะเหมือนหรือไม่เหมือนคำ ความหมาย และปริบทของภาษาที่หนึ่งเนื่องมาจากการรับรู้และความคิดที่แตกต่างกัน (Field, 2003, p. 65) ดังนั้น เป็นที่น่าสนใจที่จะศึกษาความหมายและปริบทของคำพื้นฐานนั้นที่พบในทั้งสองภาษา งานวิจัยนี้ได้เลือกคำว่า “ลูก” ในภาษาอังกฤษและภาษาไทย (Haas, 1964, pp. 487-489) เนื่องจากว่าคำว่า “ลูก” นี้มีความเป็นสากลที่พบในทุกวัฒนธรรม ในงานวิจัยนี้ มีการศึกษาคำว่า “ลูก” โดยอิงทฤษฎีด้านความหมายและปริชาน ผลการวิจัยเปิดเผยว่า คำว่า “ลูก” ในภาษาอังกฤษและภาษาไทยได้ขยายความหมายและการใช้คำให้กว้างขึ้น หวังว่าการศึกษาวิจัยนี้จะช่วยให้เกิดความเข้าใจระหว่างภาษาที่ ๑ และภาษาที่ ๒ ในเชิงภาษาศาสตร์และศิลปศาสตร์
ในการเรียนภาษาที่่สองนั้น ผู้เรียนภาษาที่่สองน่าจะเรียนรู้ คำ ความหมาย และปริบทของภาษาที่่สองก่อนหน้าที่จะเรียนภาษาในระดับสูงขึ้น คำ ความหมาย และปริบทของภาษาที่สองอาจจะเหมือนหรือไม่เหมือนคำ ความหมาย และปริบทของภาษาที่หนึ่งเนื่องมาจากการรับรู้และความคิดที่แตกต่างกัน (Field, 2003, p. 65) ดังนั้น เป็นที่น่าสนใจที่จะศึกษาความหมายและปริบทของคำพื้นฐานนั้นที่พบในทั้งสองภาษา งานวิจัยนี้ได้เลือกคำว่า “ลูก” ในภาษาอังกฤษและภาษาไทย (Haas, 1964, pp. 487-489) เนื่องจากว่าคำว่า “ลูก” นี้มีความเป็นสากลที่พบในทุกวัฒนธรรม ในงานวิจัยนี้ มีการศึกษาคำว่า “ลูก” โดยอิงทฤษฎีด้านความหมายและปริชาน ผลการวิจัยเปิดเผยว่า คำว่า “ลูก” ในภาษาอังกฤษและภาษาไทยได้ขยายความหมายและการใช้คำให้กว้างขึ้น หวังว่าการศึกษาวิจัยนี้จะช่วยให้เกิดความเข้าใจระหว่างภาษาที่ ๑ และภาษาที่ ๒ ในเชิงภาษาศาสตร์และศิลปศาสตร์