Publication: Anatomical Parameters of the Renal Mass that Effect the Treatment Outcomes of Laparoscopic Partial Nephrectomy
Issued Date
2016
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of surgery Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 39, No. 3 (Jul-Sep 2016), 171-178
Suggested Citation
Tanatorn Termkaisi, Pokker Sirisreetreerux, Wit Viseshsindh, Kittinut Kijvikai, Wisoot Kongchareonsombat, Premsant Sangkum, ธนาธร เติมไกรศรี, ปกเกศ ศิริศรีตรีรักษ์, วิทย์ วิเศษสินธุ์, กิตติณัฐ กิจวิกัย, วิสูตร คงเจริญสมบัติ, เปรมสันต์ สังฆ์คุ้ม Anatomical Parameters of the Renal Mass that Effect the Treatment Outcomes of Laparoscopic Partial Nephrectomy. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 39, No. 3 (Jul-Sep 2016), 171-178. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79607
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Anatomical Parameters of the Renal Mass that Effect the Treatment Outcomes of Laparoscopic Partial Nephrectomy
Other Contributor(s)
Abstract
Objectives: Partial nephrectomy is the newly treatment of choice for management of small renal mass. The warm ischemic time (WIT) is the most important factor that affects postoperative renal function. In this study, we explored the anatomical factors of the renal mass that influence warm ischemic time and perioperative outcomes during laparoscopic partial nephrectomy (LPN).
Materials and Methods: We performed a single institutional, retrospective analysis in the patients who underwent LPN at Ramathibodi Hospital from 2007 to 2013. The anatomy of the renal mass was evaluated preoperatively by computed tomography or magnetic resonance imaging according to R.E.N.A.L. nephrometry scoring system (radius, exophytic/endophytic, growth pattern, nearness of the collecting system, anterior/posterior and location). Statistical analysis was performed to evaluate the associations between the anatomy of renal mass and WIT, operative time (OT), estimated blood loss (EBL) and postoperative complications.
Results: A total of 28 patients underwent LPN from 2007 to 2013. The average tumor size was 3.75 cm (range 0.8-8.5 cm), 62.3% of these masses were < 4 cm in diameters, 21.4% were 4-7 cm and 16.3% were > 7 cm. For growth pattern of the renal mass: 25% were exophytic \dpi{120} \bg_white \fn_phv \tiny \geq 50% and 75% were exophytic < 50%. The location of the tumors: 67.9% were in anterior part of the kidney, 24.9% were in posterior part and 14.3% were located between the anterior and posterior part of the kidney. In addition, 35.7% were upper pole tumors, 28.6% were in the lower pole, and 35.7% were in interpolar location. According to R.E.N.A.L. scoring system, the nearness of the collecting system was the only factor that was found to be significantly correlated with EBL (P = 0.036). From our results, anatomical factors of renal mass could not predict OT and WIT.
Conclusions: The nearness of collecting system of renal mass is a useful parameter for the prediction of EBL during LPN.
วัตถุประสงค์: การผ่าตัดเอาเนื้อไตบางส่วนเป็นวิธีการใหม่ที่เริ่มได้รับการยอมรับมากขึ้นในการรักษาก้อนที่ไตขนาดเล็ก ปัจจัยที่สำคัญที่สุดที่ส่งผลต่อการทำงานของไตหลังการผ่าตัดคือ warm ischemic time ในการศึกษานี้ต้องการศึกษาถึงปัจจัยทางกายวิภาคของก้อนที่ไตที่อาจส่งผลต่อ warm ischemic time และผลของการป่าตัดเอาเนื้อไตออกบางส่วนโดยวิธีการส่องกล้อง วิธีการศึกษา: ศึกษาทบทวนเวชระเบียนย้อนหลังในผู้ป่วยทุกรายที่ได้รับการรักษา โดยการส่องหล้องผ่าตัดเอาเนื้อไตออกบางส่วนในโรงพยาบาลรามาธิบดี ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2007-2013 โดยเก็บข้อมูลปัจจัยทางกายวิภาคของเนื้องอกที่ไตจากการตรวจเอกซ์เรย์คอมพิวเตอร์หรือเอกซ์เรย์คลื่นแม่เหล็กก่อนการผ่าตัด โดยพิจารณาตามระบบการประเมินก้อนที่ไตขนาดเล็ก R.E.N.A.L. nephrometry scoring system (tumor size, growth [attern, nearness of the collecting system, anterior/posterior, media/lateral, and polar location) ว่ามีความสัมพันธ์กับ warn ischemic time ระยะเวลาในการผ่าตัดและปริมาณเลือดที่เสียขณะผ่าตัดอย่างไร ผลการศึกษา: ได้ทำการศึกษาในผู้ป่วยทั้งหมด 28 ราย ที่รักษา โดยการผ่าตัดเอาเนื้อไตออกบางส่วนระหว่าง ค.ศ. 2007-2013 ขนาดเนื้องอกเฉลี่ย 3.75 ซม. (0.8 - 8.5 ซม.) ร้อยละ 62.3 ของก้อนเนื้องอกมีขนาด < 4 ซม. ร้อยละ 21.4 ของก้อนเนื้องออกมีขนาด 4-7 ซม. และร้อยละ 16.3 ของก้อนเนื้องอกมีขนาด > 7 ซม. สำหรับ growth pattern พบว่าร้อยละ 25 ของก้อนเนื้องอกอยู่ตำแหน่งเกินขอบเขตไต \dpi{120} \bg_white \fn_phv \tiny \geq 50% พบว่าร้อยละ 75 ของก้อนเนื้องอกอยู่เกินขอบของไต < 50% พบว่าร้อยละ 67.9 ของก้อนเนื้องอกอยู่ทางด้านหน้าของไต ร้อยละ 24.9 ของก้อนเนื้องอกอยู่ทางด้านหลังไตและร้อยละ 14.3 อยู่ระหว่างหน้าและหลังของไต ร้อยละ 35.7 ของก้อนเนื้องอกอยู่ส่วนบนของไต ร้อยละ 28.6 ของก้อนเนื้องอกอยู่ส่วนล่างของไต และร้อยละ 35.7 ของก้อนเนื้องอกอยู่ตำแหน่งตรงกลางไต จากการศึกษาพบว่า ปัจจัยทางกายวิภาคของเนื้องอกที่ไต ระยะใกล้ collection system (nearness of the collection system) มีผลต่อปริมาณเลือดที่เสียขณะผ่าตัดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P value = 0.04) และปัจจัยทางกายวิภาคอื่นๆ ของเนื้องอกที่ไต ไม่สามารถใช้ทำนายเวลาที่ใช้ในการผ่าตัดและ warm ischemic time ได้ สรุป: ระยะใกล้ collection system ของก้อนเนื้องอกที่ไต เป็นค่าที่สามารถใช้ทำนายปริมาณเลือดที่ออกในขณะทำการผ่าตัดเอาเนื้อไตออกบางส่วนโดยวิธีการส่องกล้อง
วัตถุประสงค์: การผ่าตัดเอาเนื้อไตบางส่วนเป็นวิธีการใหม่ที่เริ่มได้รับการยอมรับมากขึ้นในการรักษาก้อนที่ไตขนาดเล็ก ปัจจัยที่สำคัญที่สุดที่ส่งผลต่อการทำงานของไตหลังการผ่าตัดคือ warm ischemic time ในการศึกษานี้ต้องการศึกษาถึงปัจจัยทางกายวิภาคของก้อนที่ไตที่อาจส่งผลต่อ warm ischemic time และผลของการป่าตัดเอาเนื้อไตออกบางส่วนโดยวิธีการส่องกล้อง วิธีการศึกษา: ศึกษาทบทวนเวชระเบียนย้อนหลังในผู้ป่วยทุกรายที่ได้รับการรักษา โดยการส่องหล้องผ่าตัดเอาเนื้อไตออกบางส่วนในโรงพยาบาลรามาธิบดี ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2007-2013 โดยเก็บข้อมูลปัจจัยทางกายวิภาคของเนื้องอกที่ไตจากการตรวจเอกซ์เรย์คอมพิวเตอร์หรือเอกซ์เรย์คลื่นแม่เหล็กก่อนการผ่าตัด โดยพิจารณาตามระบบการประเมินก้อนที่ไตขนาดเล็ก R.E.N.A.L. nephrometry scoring system (tumor size, growth [attern, nearness of the collecting system, anterior/posterior, media/lateral, and polar location) ว่ามีความสัมพันธ์กับ warn ischemic time ระยะเวลาในการผ่าตัดและปริมาณเลือดที่เสียขณะผ่าตัดอย่างไร ผลการศึกษา: ได้ทำการศึกษาในผู้ป่วยทั้งหมด 28 ราย ที่รักษา โดยการผ่าตัดเอาเนื้อไตออกบางส่วนระหว่าง ค.ศ. 2007-2013 ขนาดเนื้องอกเฉลี่ย 3.75 ซม. (0.8 - 8.5 ซม.) ร้อยละ 62.3 ของก้อนเนื้องอกมีขนาด < 4 ซม. ร้อยละ 21.4 ของก้อนเนื้องออกมีขนาด 4-7 ซม. และร้อยละ 16.3 ของก้อนเนื้องอกมีขนาด > 7 ซม. สำหรับ growth pattern พบว่าร้อยละ 25 ของก้อนเนื้องอกอยู่ตำแหน่งเกินขอบเขตไต \dpi{120} \bg_white \fn_phv \tiny \geq 50% พบว่าร้อยละ 75 ของก้อนเนื้องอกอยู่เกินขอบของไต < 50% พบว่าร้อยละ 67.9 ของก้อนเนื้องอกอยู่ทางด้านหน้าของไต ร้อยละ 24.9 ของก้อนเนื้องอกอยู่ทางด้านหลังไตและร้อยละ 14.3 อยู่ระหว่างหน้าและหลังของไต ร้อยละ 35.7 ของก้อนเนื้องอกอยู่ส่วนบนของไต ร้อยละ 28.6 ของก้อนเนื้องอกอยู่ส่วนล่างของไต และร้อยละ 35.7 ของก้อนเนื้องอกอยู่ตำแหน่งตรงกลางไต จากการศึกษาพบว่า ปัจจัยทางกายวิภาคของเนื้องอกที่ไต ระยะใกล้ collection system (nearness of the collection system) มีผลต่อปริมาณเลือดที่เสียขณะผ่าตัดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P value = 0.04) และปัจจัยทางกายวิภาคอื่นๆ ของเนื้องอกที่ไต ไม่สามารถใช้ทำนายเวลาที่ใช้ในการผ่าตัดและ warm ischemic time ได้ สรุป: ระยะใกล้ collection system ของก้อนเนื้องอกที่ไต เป็นค่าที่สามารถใช้ทำนายปริมาณเลือดที่ออกในขณะทำการผ่าตัดเอาเนื้อไตออกบางส่วนโดยวิธีการส่องกล้อง