Publication:
การสำรวจเครือข่ายนักวิจัยด้านการสาธารณสุขในประเทศไทย เพื่อการพัฒนาระบบฐานข้อมูล

dc.contributor.authorเนตร หงษ์ไกรเลิศen_US
dc.contributor.authorปราณี สุทธิสุคนธ์en_US
dc.contributor.authorนฤมล จันทรเจิดen_US
dc.contributor.authorกานต์ จันทวงษ์en_US
dc.contributor.authorสมปอง อ้นเดชen_US
dc.contributor.authorดุษณี ดำมีen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียนen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. สำนักหอสมุด มหาวิทยาาลัยมหิดลen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.date.accessioned2017-06-26T08:51:35Z
dc.date.available2017-06-26T08:51:35Z
dc.date.created2017-06-26
dc.date.issued2549
dc.description.abstractการสำรวจเครือข่ายนักวิจัยด้านการสาธารณสุขในประเทศไทย เพื่อการพัฒนาระบบฐานข้อมูลนี้เป็นการ สำรวจเพื่อการรวบรวมนักวิจัยในสาขาต่างๆ ด้านการสาธารณสุขที่กระจายอยู่ตามพื้นที่ทั้งในระดับภูมิภาคและ ส่วนกลาง เพื่อสร้างเป็นเครือข่ายนักวิจัยในลักษณะบูรณาการ จากนั้นจึงนำข้อมูลที่ได้มาออกแบบและพัฒนา เป็นฐานข้อมูลนักวิจัยด้านการสาธารณสุขของประเทศไทย กลุ่มเป้าหมายของการศึกษาในครั้งนี้ คือนักวิจัยด้าน สาธารณสุขในประเทศไทย รวมทั้งปราชญ์ชาวบ้าน แบ่งวิธีการดำเนินการเป็น 2 ส่วนคือ การวิจยั เชิงสำรวจเพื่อ สืบค้นนักวิจัยที่กระจายอยู่ตามภาคต่างๆ ของประเทศ และการพัฒนาโปรแกรม การสร้างฐานข้อมูล เพื่อนำ ข้อมูลที่ได้เป็นข้อมูลในการสร้างฐานข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า มนี กั วิจยั ที่กรอกแบบสำรวจครบถ้วน จำนวน 2,582 คน แบ่งตามประเภทของนักวิจยั เป็น 3 ประเภทคือ นกั วิจยั ที่ปฏิบตั งิ านด้านสาธารณสุขจำนวนมากที่สุด คอื 1,640 คน หรือ รอ้ ยละ 63.51 คน ปราชญ์ชาวบ้านและนักวิจยั ท้องถิ่น จำนวน 920 คน หรือร้อยละ 35.63 ส่วนนักวิจยั ต่างประเทศ 22 คน หรือร้อยละ 0.86 จากข้อมูลการกระจายตัวของนักวิจัยตามภาคต่าง ๆ จำแนกนักวิจัยของประเทศไทยได้เป็น 5 ภาคดังนี้ ภาคกลาง เป็นภาคที่มนี กั วิจยั ด้านสาธารณสุขมากที่สุดคือ 681 คน คดิ เป็นร้อยละ 41.53 รองลงมา คือ ภาคเหนือ จำนวน 338 คน คิดเป็นร้อยละ 20.61 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 289 คน คิดเป็น ร้อยละ 17.62 ภาคใต้ จำนวน 237 คน คิดเป็นร้อยละ 14.45 และภาคตะวันออก 95 คน คิดเป็นร้อยละ 5.79 ส่วนปราชญ์ชาวบ้านและนักวิจัยท้องถิ่น พบว่าภาคเหนือมีจำนวนมากที่สุดคือ 650 คน คิดเป็นร้อยละ 70.65 จากการวิเคราะห์ข้อมูลในฐานข้อมูลนักวิจัยด้านสาธารณสุขในประเทศไทยในครั้งนี้ พบประเด็นที่น่าสนใจ ที่มีแนวโน้มเพื่อการศึกษาต่อยอดจากข้อมูลพื้นฐาน คือ นักวิจัยส่วนใหญ่มีความเชี่ยวชาญมากกว่า 1 สาขาคือ ความเชี่ยวชาญในสาขาที่ผ่านการศึกษาจากสถาบันการศึกษาเป็นพื้นฐาน และมีความเชี่ยวชาญในสาขาเทคโนโลยี สารสนเทศ ซึ่งเป็นความสนใจร่วมที่สามารถแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความรู้ โดยเฉพาะการเปิดชุมชนเครือข่าย อิเลคโทรนิคส์ หรือ e-community ท่สี ามารถนำบุคลากรทางการสาธารณสุข เข้ามามี ส่วนร่วมในการเปิดประ- เด็น เปิดการชุมนุม เปิดสังคม เพื่อสร้างเป็นชุมชนแนวปฏิบัติในการพัฒนาเป็นเครือข่ายด้านสุขภาพของ ประเทศไทยต่อไปen_US
dc.description.abstractThis study was conducted on public health researchers through a survey, which collect the number of public health researchers in Thailand and simultaneously a database was developed to be the center of their networks for sharing the knowledge and experiences through online channel. 20,000 Constructed questionnaires were distributed through 5 regional representatives and followed up by e-mail and telephone. The information of 2582 researchers was collected from all over Thailand. The study revealed that 63.51% of researcher was the academic personnel. 35.63% was the local wisdom and the rest was the foreign researchers (0.86%). The data were categorized according to five regions as fallow: 41.53% of the researchers from central region, followed by 20.61%, 17.62% 14.45%, 5.79% of the researchers from northern region, northeastern region, southern region, and eastern region, respectively. Moreover, the data showed that the researchers displayed expertise not only in Public Health but the other field as well, especially the knowledge and experience in information technology. By this viewpoint, the study could be expanded to construct the e-community to share the experience and knowledge through on line community.en_US
dc.identifier.citationวารสารสาธารณสุขและการพัฒนา. ปีที่ 4, ฉบับที่ 2 (2549),31- 44en_US
dc.identifier.issn1905-1387
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2170
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderสถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน. มหาวิทยาลัยมหิดล.en_US
dc.subjectนักวิจัยด้านการสาธารณสุขen_US
dc.subjectPublic Health researcheren_US
dc.subjectการพัฒนาระบบฐานข้อมูลen_US
dc.subjectDatabase Developmenten_US
dc.subjectชุมชนเครือข่ายอิเลคโทรนิกส์en_US
dc.subjecte-communityen_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.subjectวารสารสาธารณสุขและการพัฒนาen_US
dc.subjectJournal of Public Health and Developmenten_US
dc.titleการสำรวจเครือข่ายนักวิจัยด้านการสาธารณสุขในประเทศไทย เพื่อการพัฒนาระบบฐานข้อมูลen_US
dc.title.alternativeDatabase Development of Public Health Researchers in Thailanden_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ad-ar-nate-2549.pdf
Size:
359.52 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections