Publication: Factors Influencing Self-Concept of Adolescents with Epilepsy
Issued Date
2024
Resource Type
Resource Version
Accepted Manuscript
Language
tha
ISSN
2822-1370 (Print)
2822-1389 (Online)
2822-1389 (Online)
Journal Title
Nursing Research and Innovation Journal
Volume
30
Issue
1
Start Page
30
End Page
43
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Ramathibodi School of Nursing Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Pediatric Neurology Department Neurological Institute of Thailand
Pediatric Neurology Department Neurological Institute of Thailand
Bibliographic Citation
Nursing Research and Innovation Journal. Vol. 30, No. 1 (Jan-Apr 2024), 30-43
Suggested Citation
Chuthathip Mongkholkham, Autchareeya Patoomwan, Apasri Lusawat, จุฑาทิพย์ มงคลคำ, อัจฉรียา ปทุมวัน, อาภาศรี ลุสวัสดิ์ Factors Influencing Self-Concept of Adolescents with Epilepsy. Nursing Research and Innovation Journal. Vol. 30, No. 1 (Jan-Apr 2024), 30-43. 43. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/98964
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors Influencing Self-Concept of Adolescents with Epilepsy
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออัตมโนทัศน์ของวัยรุ่นโรคลมชัก
Abstract
This cross-sectional descriptive study was designed to investigate the self-concept of adolescents with epilepsy and its influencing factors of gender, severity of epilepsy, and family functioning on the self-concept of adolescents with epilepsy guided by Bracken’s Self-Concept Model. A total of 82 adolescents with epilepsy, 12-18 years of age,were selected by purposive sampling from pediatric neurology outpatient clinics from three tertiary care medical centers, who had a minimum standard score above 70 on the Peabody Picture Vocabulary Test, Fourth Edition. Participants completed the Demographic Questionnaire, Epilepsy Severity Scale, Piers-Harris Self-Concept Scale,3rd Edition, and General Functioning 12-item Subscale. Neurology clinic charts were reviewed for the type and frequency of seizures, and the number of antiepileptic drugs.The data were analyzed using descriptive statistics and multiple regression. The findings revealed that the participants had an average level of self-concept overall and in most domains. However, they had a low level in two domains of self-concept: happiness and satisfaction, and intellectual and school status. Epilepsy severity and family functioning could co-predict overall self-concept by 7.10 % significantly, while there was no correlation between gender and self-concept. Based on the study findings, nursing implications should screen individuals' self-concept (particularly happiness and satisfaction, intellectual and school status), and emphasize the severity of epilepsy and family functioning to promote adolescents with epilepsy for a positive self-concept.
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตุประสงค์เพื่อศึกษาระดับอัตมโนทัศน์และความสัมพันธ์เชิงทำนายของปัจจัย เพศ ความรุนแรงของโรคลมชัก และการทำหน้าที่ของครอบครัวที่มีอิทธิพลต่ออัตมโนทัศน์ของวัยรุ่นโรคลมชัก โดยใช้กรอบแนวคิดของแบรคเคน กลุ่มตัวอย่างคือ วัยรุ่นโรคลมชักจำนวน 82 คน อายุ 12-18 ปี ผ่านตามเกณฑ์คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด เข้ารับบริการที่คลินิกโรคระบบประสาทเด็กของโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ 3 แห่ง และมีคะแนน Peabody Picture Vocabulary Test-Fourth Edition มากกว่า 70 คะแนน โดยตอบแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล อัตมโนทัศน์ การทำหน้าที่ของครอบครัว และรวบรวมข้อมูล ประเภทและความถี่ของการชัก รวมทั้งการได้รับยากันชักจากเวชระเบียน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยายและการถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมี คะแนนอัตมโนทัศน์โดยรวมและรายด้านส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลางส่วนอัตมโนทัศน์ด้านความสุขและความพอใจ และด้านสติปัญญาและสถานภาพในโรงเรียน อยู่ในระดับต่ำ และพบว่าตัวแปรความรุนแรงของโรคลมชักและการทำหน้าที่ของครอบครัวสามารถร่วมทำนายอัตมโนทัศน์ได้ร้อยละ 7.10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนตัวแปรเพศไม่มีความสัมพันธ์กับอัตมโนทัศน์ จากผลการศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า พยาบาลควรประเมินระดับอัตมโนทัศน์ของวัยรุ่นโรคลมชัก โดยเฉพาะในด้านความสุขและความพุงพอใจ และด้านสติปัญญาและสถานภาพในโรงเรียน รวมทั้งประเมินระดับความรุนแรงของโรคลมชัก และการทำหน้าที่ของครอบครัว เพื่อหาแนวทางในการส่งเสริมอัตมโนทัศน์ทางบวกในกลุ่มวัยรุ่นโรคลมชัก
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตุประสงค์เพื่อศึกษาระดับอัตมโนทัศน์และความสัมพันธ์เชิงทำนายของปัจจัย เพศ ความรุนแรงของโรคลมชัก และการทำหน้าที่ของครอบครัวที่มีอิทธิพลต่ออัตมโนทัศน์ของวัยรุ่นโรคลมชัก โดยใช้กรอบแนวคิดของแบรคเคน กลุ่มตัวอย่างคือ วัยรุ่นโรคลมชักจำนวน 82 คน อายุ 12-18 ปี ผ่านตามเกณฑ์คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด เข้ารับบริการที่คลินิกโรคระบบประสาทเด็กของโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ 3 แห่ง และมีคะแนน Peabody Picture Vocabulary Test-Fourth Edition มากกว่า 70 คะแนน โดยตอบแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล อัตมโนทัศน์ การทำหน้าที่ของครอบครัว และรวบรวมข้อมูล ประเภทและความถี่ของการชัก รวมทั้งการได้รับยากันชักจากเวชระเบียน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยายและการถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมี คะแนนอัตมโนทัศน์โดยรวมและรายด้านส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลางส่วนอัตมโนทัศน์ด้านความสุขและความพอใจ และด้านสติปัญญาและสถานภาพในโรงเรียน อยู่ในระดับต่ำ และพบว่าตัวแปรความรุนแรงของโรคลมชักและการทำหน้าที่ของครอบครัวสามารถร่วมทำนายอัตมโนทัศน์ได้ร้อยละ 7.10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนตัวแปรเพศไม่มีความสัมพันธ์กับอัตมโนทัศน์ จากผลการศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า พยาบาลควรประเมินระดับอัตมโนทัศน์ของวัยรุ่นโรคลมชัก โดยเฉพาะในด้านความสุขและความพุงพอใจ และด้านสติปัญญาและสถานภาพในโรงเรียน รวมทั้งประเมินระดับความรุนแรงของโรคลมชัก และการทำหน้าที่ของครอบครัว เพื่อหาแนวทางในการส่งเสริมอัตมโนทัศน์ทางบวกในกลุ่มวัยรุ่นโรคลมชัก