Publication:
Factors associated with mild cognitive impairment among the community-dwelling elderly in the urban area of Kyauk Tan Township, Myanmar

dc.contributor.authorSu Lei Monen_US
dc.contributor.authorSariyamon Tiraphaten_US
dc.contributor.authorIsareethika Jayasvastien_US
dc.contributor.authorซูเลมนen_US
dc.contributor.authorศริยามน ติรพัฒน์en_US
dc.contributor.authorอิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์en_US
dc.contributor.otherMahidol University. ASEAN Institute for Health Developmenten_US
dc.date.accessioned2021-05-14T09:23:32Z
dc.date.available2021-05-14T09:23:32Z
dc.date.created2021-05-14
dc.date.issued2017
dc.description.abstractementia and its related cognitive impairment diseases are one of the main contributors of disability in older people. This study is aimed for screening of the elderly population with mild cognitive impairment (MCI) in the urban area of Kyauk Tan Township in Yangon Region, Myanmar and also identifying the important associated factors of MCI in the local context. A cross-sectional study design was conducted in the form of household visit interviews by using the structured questionnaires for 350 elderly in the urban area of Kyauk Tan Township. The prevalence of mild cognitive impairment was 21% with the mean age of 70 years. Using Chi-square test for association, significantly associated factors with MCI included four socio-demographic factors (age, gender, education, and occupation), five life-style factors (alcohol drinking, physical activeness, regular meal, leisure activities and fish intake), one comorbid factor (depression), three family factors (individual income, family income and family support) and all three social factors (social network, social activities, and religiousness). Five factors including age, education level, physical activities, leisure activities and social network size were detected to have significant association with MCI when multiple logistic regressions was performed. Investigation of MCI and associated factors is important for planning the intervention programs effectively for the cognitive functional ability among the elderly.en_US
dc.description.abstractภาวะสมองเสื่อมและกลุ่มอาการหลงลืม เป็นสาเหตุสำคัญของความพิการในผู้สูงอายุ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดกรองประชากรผู้สูงอายุที่มี ภาวะอาการหลงลืมเริ่มต้น ในเขตเมือง กัก ตาล อำเภอ ย่างกุ้ง ประเทศพม่า นอกจากนี้ การศึกษายังต้องการทราบถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะอาการหลงลืมเริ่มต้น การศึกษาภาคตัดขวางถูกสร้างขึ้นในรูปแบบของการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถามสำหรับผู้สูงอายุ 350 ราย ในเขตเมืองในเขตเมืองกักตาล พบว่า ความชุกของการหลงลืมระยะเริ่มต้น มีค่าเท่ากับ 21% จากอายุเฉลี่ยของประชากรเท่ากับ 70 ปี การทดสอบ ไคสแควร์ชี้ให้เห็นว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องอย่างมีนัยสำคัญสำหรับการหลงลืมเระยะเริ่มต้น ได้แก่ ปัจจัยทางสังคมและประชากร (อายุเ พศ การศึกษา และ อาชีพ) ปัจจัยวิถีชีวิต (การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กิจกรรมมทางกายภาพ อาหาร ที่รับประทาน กิจกรรมสันทนาการ และการบริโภคปลา) ปัจจัยที่ เกี่ยวเนื่องกับโรคร่วม (โรคซึมเศร้า) ปัจจัยครอบครัว (รายได้บุคคล รายได้ของครอบครัว และการสนับสนุนของครอบครัว) และปัจจัยทางสังคม (เครือข่ายสังคม, กิจกรรมทางสังคม และการเคร่งศาสนา). การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกหพหุคูณพบว่าปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ การหลงลืมระยะเริ่มต้น มีห้าปัจจัย ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา กิจกรรมการออกกำลังกาย กิจกรรมสันทนาการ และขนาดเครือข่ายทางสังคม การศึกษาภาวะการหลงลืมและปัจจัยที่เกี่ยวข้องเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการวางแผนเพื่อช่วยให้ผู้สูงอายุมีความสามารถในการทำงานของสมองอย่างมีประสิทธิภาพen_US
dc.identifier.citationJournal of Public Health and Development. Vol. 15, No.1 (Jan - Apr 2017), 63-79en_US
dc.identifier.issn1905-1387
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62156
dc.language.isoengen_US
dc.rightsMahidol Universityen_US
dc.rights.holderASEAN Institute for Health Development Mahidol Universityen_US
dc.subjectmild cognitive impairmenten_US
dc.subjectelderlyen_US
dc.subjectassociated factorsen_US
dc.subjectMyanmaren_US
dc.subjectการหลงลืมระยะเริ่มต้นen_US
dc.subjectผู้สูงอายุen_US
dc.subjectปัจจัยที่มีความสัมพันธ์en_US
dc.subjectประเทศพม่าen_US
dc.titleFactors associated with mild cognitive impairment among the community-dwelling elderly in the urban area of Kyauk Tan Township, Myanmaren_US
dc.title.alternativeปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการหลงลืมระยะเริ่มต้นของ ผู้สูงอายุในชุมชนเขตเมืองในเมืองกักตาลประเทศพม่าen_US
dc.typeOriginal Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he01.tci-thaijo.org/index.php/AIHD-MU/article/view/65057/73058

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ad-ar-sariyamo-2017-1.pdf
Size:
556.48 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections