Publication: Factors related to dental nurse preparation for working in Tambon Health Promoting Hospitals in Thailand
Issued Date
2016
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University.
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development. Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol. 14, No.2 (May - Aug 2016), 3-16
Suggested Citation
Somrit Jirojvanichakorn, Nate Hongkrailert, Jiraporn Chompikul, Boonyong Keiwkarnka Factors related to dental nurse preparation for working in Tambon Health Promoting Hospitals in Thailand. Journal of Public Health and Development. Vol. 14, No.2 (May - Aug 2016), 3-16. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2414
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors related to dental nurse preparation for working in Tambon Health Promoting Hospitals in Thailand
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเตรียมการทันตาภิบาล เพื่อลงปฏิบัติงานทันตสาธารณสุขในโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล ในประเทศไทย
Other Contributor(s)
Abstract
Dental nurses are the important persons who often the major influential to promote oral heath in the
sub-district (Tambon) level. Dental caries is still a serious problem among the varieties group of the population
in Thailand especially the group of children in rural areas. This cross-sectional descriptive study aimed
to identify factors associated with dental nurse preparation by chiefs of dental departments of community
hospitals all over Thailand. Self-administered questionnaires were filled out by 290 respondents to assess
their socio-demographic characteristics, psycho-social factors, cues to action and enabling factors, which
were considered related to their dental nurse preparation performance. Data were analyzed by descriptive
statistics. The Chi-square test and multiple logistic regression were performed to determine associations
between the dental nurse preparation and influential factors.
Half of respondents had a low level of dental nurse preparation. Those who received information said
this was mostly from their Provincial Health Office personnel. Factors that were found to have a significant
association with dental nurse preparation were age group, perception preparation, mass media, advice from
NHSO personnel, advice from other chief of a dental department of a community hospital, hospital policy,
hospital assignment, hospital budget support and hospital manpower management system. The most significant
predictors was hospital assignments (Adj. OR=2.87, 95%CI=1.76-4.65). Chiefs who had hospital assignments
were 2.87 times more likely to be well prepared than those who had not after adjusting for other factors.
The research recommendation showed that the department chiefs need to be encouraged to achieve better
dental nurse preparation by mean of hospital policy, hospital budget support, and advice from other chief of
a dental department of a community hospital to improve the levels of preparation and management among
department chiefs in community hospitals.
ทันตาภิบาลเป็นบุคลากรที่มีความสำคัญและได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบในการปฏิบัติงานทันตสาธารณสุข เพื่อดูแลสุขภาพช่องปากของประชาชนในระดับตำบล ซึ่งโรคฟันผุเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบมากที่สุดต่อประชากรทุก กลุ่มอายุ โดยเฉพาะเด็กเล็กในพื้นที่ชนบท การศึกษานี้เป็นการเก็บข้อมูลแบบภาคตัดขวางเพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ การเตรียมการทันตาภิบาลเพื่อลงปฏิบัติการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ของหัวหน้ากลุ่มงานทันต- สาธารณสุขโรงพยาบาลชุมชนทั่วประเทศ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 290 คน วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา การทดสอบไคสแควร์และการถดถอยโลจิสติกเพื่อค้นหาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเตรียม การทันตาภิบาลของหัวหน้ากลุ่มงานทันตสาธารณสุข ผลการวิจัยพบว่าครึ่งหนึ่งของหัวหน้ากลุ่มงานทันตสาธารณสุขมีการเตรียมการในระดับต่ำ ปัจจัยที่พบว่ามีความ สัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับการเตรียมการทันตาภิบาล คือความอาวุโสของหัวหน้ากลุ่มงาน กลุ่มที่มีการรับรู้ต่อ ผลกระทบสูง กลุ่มที่ได้รับข่าวสารสาธารณะ กลุ่มที่ได้รับคำแนะนำจากบุคลากรของ สปสช. กลุ่มที่ได้รับคำแนะนำจาก หัวหน้ากลุ่มงานทันตสาธารณสุขของโรงพยาบาลอื่น ๆ นโยบายโรงพยาบาล การมอบหมายภารกิจ การสนับสนุนงบ ประมาณของโรงพยาบาล และระบบการบริหารจัดการกำลังคนของโรงพยาบาล การคาดการณ์พยากรณ์ตัวแปรที่สำคัญ ที่สุดคือกลุ่มที่โรงพยาบาลมอบหมายภารกิจการเตรียมการให้ (Adj. OR=2.87, 95%CI=1.76-4.65) หัวหน้าที่โรงพยาบาล มอบหมายภารกิจการเตรียมการให้มีแนวโน้ม2.87 เท่าที่จะการเตรยี มในระดบั ดกี ว่ากล่มุ ทไี่ ม่ได้รบั หมอบหมาย เมอื่ ได้ปรบั อิทธิพลของปัจจัยอื่นๆ ข้อเสนอจากผลการวิจัยคือหัวหน้ากลุ่มงานทันตสาธารณสุขโรงพยาบาลชุมชน ควรได้รับการสนับสนุนจาก โรงพยาบาลและได้รับคำแนะนำที่เหมาะสม ได้แก่การกำหนดเป็นนโยบาย การมอบหมายเป็นภารกิจ การสนับสนุนด้าน งบประมาณ ตลอดจนคำแนะนำจากทันตบุคลากรรอบข้างเพื่อให้เกิดการเตรียมการทันตาภิบาลที่ดีในการลงปฏิบัติงาน ใน รพ.สต. ต่อไป
ทันตาภิบาลเป็นบุคลากรที่มีความสำคัญและได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบในการปฏิบัติงานทันตสาธารณสุข เพื่อดูแลสุขภาพช่องปากของประชาชนในระดับตำบล ซึ่งโรคฟันผุเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบมากที่สุดต่อประชากรทุก กลุ่มอายุ โดยเฉพาะเด็กเล็กในพื้นที่ชนบท การศึกษานี้เป็นการเก็บข้อมูลแบบภาคตัดขวางเพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ การเตรียมการทันตาภิบาลเพื่อลงปฏิบัติการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ของหัวหน้ากลุ่มงานทันต- สาธารณสุขโรงพยาบาลชุมชนทั่วประเทศ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 290 คน วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา การทดสอบไคสแควร์และการถดถอยโลจิสติกเพื่อค้นหาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเตรียม การทันตาภิบาลของหัวหน้ากลุ่มงานทันตสาธารณสุข ผลการวิจัยพบว่าครึ่งหนึ่งของหัวหน้ากลุ่มงานทันตสาธารณสุขมีการเตรียมการในระดับต่ำ ปัจจัยที่พบว่ามีความ สัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับการเตรียมการทันตาภิบาล คือความอาวุโสของหัวหน้ากลุ่มงาน กลุ่มที่มีการรับรู้ต่อ ผลกระทบสูง กลุ่มที่ได้รับข่าวสารสาธารณะ กลุ่มที่ได้รับคำแนะนำจากบุคลากรของ สปสช. กลุ่มที่ได้รับคำแนะนำจาก หัวหน้ากลุ่มงานทันตสาธารณสุขของโรงพยาบาลอื่น ๆ นโยบายโรงพยาบาล การมอบหมายภารกิจ การสนับสนุนงบ ประมาณของโรงพยาบาล และระบบการบริหารจัดการกำลังคนของโรงพยาบาล การคาดการณ์พยากรณ์ตัวแปรที่สำคัญ ที่สุดคือกลุ่มที่โรงพยาบาลมอบหมายภารกิจการเตรียมการให้ (Adj. OR=2.87, 95%CI=1.76-4.65) หัวหน้าที่โรงพยาบาล มอบหมายภารกิจการเตรียมการให้มีแนวโน้ม2.87 เท่าที่จะการเตรยี มในระดบั ดกี ว่ากล่มุ ทไี่ ม่ได้รบั หมอบหมาย เมอื่ ได้ปรบั อิทธิพลของปัจจัยอื่นๆ ข้อเสนอจากผลการวิจัยคือหัวหน้ากลุ่มงานทันตสาธารณสุขโรงพยาบาลชุมชน ควรได้รับการสนับสนุนจาก โรงพยาบาลและได้รับคำแนะนำที่เหมาะสม ได้แก่การกำหนดเป็นนโยบาย การมอบหมายเป็นภารกิจ การสนับสนุนด้าน งบประมาณ ตลอดจนคำแนะนำจากทันตบุคลากรรอบข้างเพื่อให้เกิดการเตรียมการทันตาภิบาลที่ดีในการลงปฏิบัติงาน ใน รพ.สต. ต่อไป