Publication: Health-Promoting Lifestyles of Nursing Students in Mahidol University
Issued Date
2007
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development. Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol.5, No.1 (2007), 27-40
Suggested Citation
Jian Fang Hong, Santhat Sermsri, Boonyong Keiwkarnka Health-Promoting Lifestyles of Nursing Students in Mahidol University. Journal of Public Health and Development. Vol.5, No.1 (2007), 27-40. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1500
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Health-Promoting Lifestyles of Nursing Students in Mahidol University
Alternative Title(s)
วิถีชีวิตการเสริมสร้างสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
Based on Pender's health promotion medel, this study aimed to examine the level of health promoting liestyles of nursing students in Mahidlol University and analyze related factors in 2006.
The research design was a cross-sectional analytic study. The study population was unclergraduate
nursing students who were studying at the Faculty of Nursing; Mahidol University in 2006.The
research instrument was a self-administrated questionnaire. Data were analyzed,by using descriptive
statistics such as frequency, percentage, means, standard deviations, and mcdian. Moreover, for
analytic statistics' the Kruskal-Wallis test, Spearman rank correlation, Chi-square test, and multiple
regressions were employed.
The research results showed that more than half (53.58%) of the nursing students had health prornoting
lifestylcs at a moderate level. The nursing students performed best in interpersonal
relations but worst in exercisc. There were significant diff'erences among the various age groups and
studying years with fieshmen reporting worse in health responsibility and stress management. 'l'here
were significantly positive associations between health-promoting lifestyles and health promotion
course taken, perceived health status, and perceived health self-efficacy. Among these factors,
perceived health self-efficacy was the strongest predictor able to explain 37.8 percent variance of
health promoting lifestyles.
An exploration of the results leads to several recommendations made to rectily the weaknesses
in the nursing students'health-promoting li'estyles .Causes for the low rate of exercisc need to be
carefully exarrincd. Moreover, identifying sources of stress in first year college students and strengthening
their health responsibility warrant further attention. Nursing educators could also motivate the
students to perform good health practices andl enhance their health self efficacy. This would lead 10
better health -promoting lifestyles.
วัตถุประสงค์การวิจัยคือ การศึกษาวิถีชีวิตการเสริมสร้างสุขภาพของนักศึกษา ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ปี 2549 เครื่องมือการศึกษาคือ แบบสอบถามที่สร้างขึ้นจากแบบการศึกษาในเรื่องเดียวกัน ที่เรียกว่า Pender's health promotion model นักศึกษาจำนวน 321 คน เป็นผู้กรอกข้อมูลลงในแบบสอบถามด้วยตนเอง หลังการอธิบายวัตถุประสงค์ของแบบสอบถาม และการวิจัย ผลการศึกษาพบว่านักศึกษาร้อยละ 53.58 มีวิถีชีวิตการเสริมสร้างสุขภาพในระดับกลาง เมื่อพิจารณาคะแนนการเสริมสร้างสุขภาพในรายละเอียด พบว่า นักศึกษามีวิถีชีวิตด้านความสัมพันธ์กับบุคคลในด้านดี (คะแนนสูง) แต่การปฏิบัติในการออกกำลังกายปรากฎว่า มีน้อย (คะแนนน้อย) ข้อค้นพบอีกประการคือ การเสริมสร้างสุขภาพมีความสัมพันธ์กับวิชาด้านเสริมสร้างสุขภาพที่เรียน สถานะทางสุขภาพ และประสิทธิภาพของการดูแลตนเองของนักศึกษา และองค์ประกอบหลังสุดเป็น ปัจจัยที่มีผลต่อวิถีชีวิตการเสริมสร้างสุขภาพ ข้อเสนอแนะต่อการพัฒนาวิถีชีวิตการเสริมสร้างสุขภาพของนักศึกษาคือ การจัดหลักสูตรควรพิจารณาสาเหตุที่นักศึกษามีการปฏิบัติด้านการออกกำลังกายน้อย และหาวิธีกระตุ้นให้นักศึกษา มีประสิทธิภาพของการดูแลตนเองในเรื่องสุขภาพ
วัตถุประสงค์การวิจัยคือ การศึกษาวิถีชีวิตการเสริมสร้างสุขภาพของนักศึกษา ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ปี 2549 เครื่องมือการศึกษาคือ แบบสอบถามที่สร้างขึ้นจากแบบการศึกษาในเรื่องเดียวกัน ที่เรียกว่า Pender's health promotion model นักศึกษาจำนวน 321 คน เป็นผู้กรอกข้อมูลลงในแบบสอบถามด้วยตนเอง หลังการอธิบายวัตถุประสงค์ของแบบสอบถาม และการวิจัย ผลการศึกษาพบว่านักศึกษาร้อยละ 53.58 มีวิถีชีวิตการเสริมสร้างสุขภาพในระดับกลาง เมื่อพิจารณาคะแนนการเสริมสร้างสุขภาพในรายละเอียด พบว่า นักศึกษามีวิถีชีวิตด้านความสัมพันธ์กับบุคคลในด้านดี (คะแนนสูง) แต่การปฏิบัติในการออกกำลังกายปรากฎว่า มีน้อย (คะแนนน้อย) ข้อค้นพบอีกประการคือ การเสริมสร้างสุขภาพมีความสัมพันธ์กับวิชาด้านเสริมสร้างสุขภาพที่เรียน สถานะทางสุขภาพ และประสิทธิภาพของการดูแลตนเองของนักศึกษา และองค์ประกอบหลังสุดเป็น ปัจจัยที่มีผลต่อวิถีชีวิตการเสริมสร้างสุขภาพ ข้อเสนอแนะต่อการพัฒนาวิถีชีวิตการเสริมสร้างสุขภาพของนักศึกษาคือ การจัดหลักสูตรควรพิจารณาสาเหตุที่นักศึกษามีการปฏิบัติด้านการออกกำลังกายน้อย และหาวิธีกระตุ้นให้นักศึกษา มีประสิทธิภาพของการดูแลตนเองในเรื่องสุขภาพ