Publication: Diarrhea preventive behavior of Myanmar immigrant caregivers with children under five years in Muang District, Samut Sakhon province, Thailand
Submitted Date
2010-06
Accepted Date
2010-11
Issued Date
2010
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development. Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol.9, No.1, (2011), 7-18
Suggested Citation
Wei Yan Aung Htay, Boonyong Keiwkarnka, บุญยง เกี่ยวการค้า, Nate Hongkailert, เนตร หงษ์ไกรเลิศ Diarrhea preventive behavior of Myanmar immigrant caregivers with children under five years in Muang District, Samut Sakhon province, Thailand. Journal of Public Health and Development. Vol.9, No.1, (2011), 7-18. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1640
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Diarrhea preventive behavior of Myanmar immigrant caregivers with children under five years in Muang District, Samut Sakhon province, Thailand
Alternative Title(s)
พฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงของผู้ดูแลเด็กชาวพม่าอพยพในการดูแลเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ในอำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ประเทศไทย
Other Contributor(s)
Abstract
Diarrhea preventive behavior of Myanmar immigrant caregivers with children under five years in Muang District, Samut Sakhon province, Thailand.
ABSTRACT
This cross sectional descriptive study was conducted to study the diarrhea preventive behavior, and its related factors of Myanmar immigrant caregivers with children under five years in Muang district, Samut Sakhon province, Thailand. 294 respondents were interviewed by trained interviewers during January, 2010. Descriptive statistics used were the Chi square test and Fisher exact test which were used to identify the relationship between diarrhea preventive behavior and related factors.
The results showed that 67.35 percent of respondents had a poor level of knowledge about diarrhea, 25.51 percent had a moderate level of perception, and 59.52 percent had been exposed to a health brochure. 54.42 percent of respondents practiced a good level of diarrhea preventive behavior. There was a relationship between diarrhea preventive behavior and the following factors: type of caregiver (P - value = 0.005), family income per month (P - value = 0.000), ability to speak the Thai language (P - value = 0.000), listening to the Thai language (P - value = 0.000), the level knowledge of diarrhea (P - value = 0.003), the level of perceptions (P - value = 0.000), media (P - value = 0.000), and advice from persons (P - value = 0.009)
Therefore, the provincial public health office should strengthen primary health care services by providing additional health education programs for caregivers to build on the existing control program of communicable diseases within Myanmar immigrant communities.
Keywords : Diarrhea preventive behavior,Myanmar immigrant,Caregiver, Children under five years
การศึกษาแบบตัดขวางเชิงพรรณนาทำการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในกลุ่มผู้ดูแลเด็กชาวพม่าอพยพที่ดูแลเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ในอำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ประเทศไทย เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 294 คน ด้วยการสัมภาษณ์โดยบุคลากรที่ผ่านการอบรมในช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. 2553 ใช้สถิติการทดสอบไคสแควร์และการทดสอบฟิสเชอร์ เอกแซค ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงกับปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 67.35 ของผู้ตอบแบบสอบถามมีความรู้เกี่ยวกับโรคอุจจาระร่วงในระดับต่ำ ร้อยละ 25.51 มีการรับรู้เกี่ยวกับโรคอุจจาระร่วงในระดับปานกลาง ร้อยละ 59.52 เคยได้รับข้อมูลด้านสุขภาพผ่านแผ่นพับ และร้อยละ 54.42 มีพฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงในระดับดี นอกจากนี้ยัง พบความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงกับประเภทของผู้ดูและ (p-value = 0.005)รายได้ของครอบครัวต่อเดือน (p-value =< 0.001)ความสามารถในการฟังภาษาไทย(p-value =< 0.001) ระดับความรู้เกี่ยวกับโรคอุจจาระร่วง(p-value = 0.003)ระดับการรับรู้เกี่ยวกับโรคอุจจาระร่วง(p-value =< 0.001)การได้ข้อมูลจากสื่อ (p-value =< 0.001)และคำแนะนำจากบุคคล(p-value = 0.009) ดังนั้น สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดควรสร้างความเข้มแข็งด้านบริการสาธารณสุขมูลฐานประกอบด้วยโปรแกรมสุขศึกษาสำหรับผู้ดูแลเด็ก การควบคุมโรคติดต่อ การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชนขาวพม่าอพยพ
การศึกษาแบบตัดขวางเชิงพรรณนาทำการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในกลุ่มผู้ดูแลเด็กชาวพม่าอพยพที่ดูแลเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ในอำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ประเทศไทย เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 294 คน ด้วยการสัมภาษณ์โดยบุคลากรที่ผ่านการอบรมในช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. 2553 ใช้สถิติการทดสอบไคสแควร์และการทดสอบฟิสเชอร์ เอกแซค ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงกับปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 67.35 ของผู้ตอบแบบสอบถามมีความรู้เกี่ยวกับโรคอุจจาระร่วงในระดับต่ำ ร้อยละ 25.51 มีการรับรู้เกี่ยวกับโรคอุจจาระร่วงในระดับปานกลาง ร้อยละ 59.52 เคยได้รับข้อมูลด้านสุขภาพผ่านแผ่นพับ และร้อยละ 54.42 มีพฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงในระดับดี นอกจากนี้ยัง พบความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงกับประเภทของผู้ดูและ (p-value = 0.005)รายได้ของครอบครัวต่อเดือน (p-value =< 0.001)ความสามารถในการฟังภาษาไทย(p-value =< 0.001) ระดับความรู้เกี่ยวกับโรคอุจจาระร่วง(p-value = 0.003)ระดับการรับรู้เกี่ยวกับโรคอุจจาระร่วง(p-value =< 0.001)การได้ข้อมูลจากสื่อ (p-value =< 0.001)และคำแนะนำจากบุคคล(p-value = 0.009) ดังนั้น สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดควรสร้างความเข้มแข็งด้านบริการสาธารณสุขมูลฐานประกอบด้วยโปรแกรมสุขศึกษาสำหรับผู้ดูแลเด็ก การควบคุมโรคติดต่อ การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชนขาวพม่าอพยพ