Publication:
สถานการณ์บ้านปลอดบุหรี่และพฤติกรรมสูบบุหรี่ของพ่อ

dc.contributor.authorศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์en_US
dc.contributor.authorเบญจวรรณ ดั่นประดิษฐ์en_US
dc.contributor.authorศิโรนี โต๊ะสันen_US
dc.contributor.authorชวาลา ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคามen_US
dc.contributor.authorSiriwan Pitayarangsariten_US
dc.contributor.authorBenjawan Danpraditen_US
dc.contributor.authorSironee Tohsanen_US
dc.contributor.authorChawala Pawaphutanondh Na Mahasarakhamen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.)en_US
dc.contributor.otherกระทรวงสาธารณสุข. สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศen_US
dc.contributor.otherมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่en_US
dc.date.accessioned2020-12-30T16:10:55Z
dc.date.available2020-12-30T16:10:55Z
dc.date.created2563-12-30
dc.date.issued2557
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินการเปลี่ยนแปลงอัตราการได้รับควันบุหรี่ในบ้านของประชากรไทยระหว่าง พ.ศ.2550 ถึง พ.ศ.2554 2) ศึกษาพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของพ่อ และ 3) ศึกษาทัศนคติและความต้องการที่จะป้องกันและแก้ไขปัญหาและผลกระทบจากการสูบบุหรี่ของพ่อ ใช้ข้อมูลเชิงปริมาณที่ได้จากการสำรวจทั้งแหล่งข้อมูลทุติยภูมิจากโครงการสำรวจการบริโภคยาสูบในผู้ใหญ่ ระดับโลกปี พ.ศ. 2552 และ 2554 และการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และดื่มสุรา ปี พ.ศ.2550 และ 2554 และข้อมูลปฐมภูมิจากโครงการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของพ่อที่สัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถามกับพ่อที่สูบบุหรี่และมีลูกอายุไม่เกิน 10 ปี และอาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครรวมจำนวนทั้งสิ้น 403 ตัวอย่าง โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิหลายขั้น ผลการศึกษาพบว่าร้อยละ 36-40 ของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปที่ได้รับควันบุหรี่ในบ้านตนเองอย่างน้อยเดือนละครั้ง ร้อยละ 80 ของพ่อผู้สูบบุหรี่มีการสูบบุหรี่ ขณะอยู่ในบ้านส่วนพ่อที่สูบบุหรี่พบว่ามีถึงสองในสาม (ร้อยละ 68.2) ที่มีพฤติกรรมสูบบุหรี่ในบริเวณบ้านส่วนต่าง ๆ ได้แก่ บริเวณรั้วบ้าน บริเวณระเบียงบ้านและห้องน้ำ ความกังวลใจของพ่อที่สูบบุหรี่ พบว่า กังวลเกี่ยวกับสุขภาพของตนเองร้อยละ 55.4 และกังวลใจในเรื่องสุขภาพของลูกร้อยละ 45.8 และกังวลเรื่องการเลียนแบบในการสูบบุหรี่ร้อยละ 52.1 สำหรับการเลิกบุหรี่ ร้อยละ 54.6 มีความคิดที่จะเลิกสูบบุหรี่โดยระบุ เหตุผลสำคัญคือ เพื่อสุขภาพของตนเอง/มีปัญหาเรื่องสุขภาพ รองลงมาเพื่อสุขภาพของลูกและภรรยา และ ร้อยละ 56.0 เห็นด้วยกับการรณรงค์ให้บ้านปลอดบุหรี่ ดังนั้นควรเพิ่มการรณรงค์สร้างกระแสการไม่สูบบุหรี่ในทุกพื้นที่ของบ้านและให้สถานบริการ สาธารณสุข/คลินิกเด็กที่ทางานเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของเด็กเล็กได้บูรณาการการช่วยเลิกบุหรี่ในผู้ปกครองเข้าไว้ในแผนการรักษาเด็กเล็กen_US
dc.description.abstractThis study aimed to 1) evaluate the transition rate of the level of second-hand smoke at home in populations of Thailand between 2007-2011, 2) to study smoking behavior of father, 3) identify problems and effects from the smoking at home from fathers’ perspectives, and 4) to describe fathers’ attitude and need to prevent and resolve effects from the second-hand smoke in home. This quantitative research used secondary data from the Global Adult Tobacco Survey, Thailand country report in 2009 and 2012 and the Smoking and Alcohol Drinking Behavior Survey in 2007 and 2011. Also, the researchers used a primary data from the father smoking survey. Data were collected by questionnaire interview with403 smoking dad who have a child aged not more than 10 year olds. Samples were selected from Bangkok with a stratified multi-stage sampling. The results from national surveys found that in the year 2011, about 36-40 percent of populations aged 15 years and above exposed to second-hand smoke at home at least once a month and 80 percent of smokers smoked at home. The father survey found that two third (68.2%) of fathers smoked at home, mostly in front of fence, at the terrace and the rest room. Smoking dads had concerns on their health (55.4%), concerns on child’s health (45.8%),and about smoking imitation in child (52.1%). 54.6 percent of smoking dad had thought to quit smoking with the reasons from their health problems and their child’s and couple’s health problems, respectively. Fifty-six agreed with the smoke-free home campaign. So, campaign for smoke free home and integration in child health clinic are important for child health and quit smoking of caregivers.en_US
dc.identifier.citationวารสารสุขศึกษา. ปีที่ 37, ฉบับที่ 128 (ก.ค.- ธ.ค. 2557), 61-74en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/60645
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการสูบบุหรี่ของพ่อen_US
dc.subjectควันบุหรี่มือสองen_US
dc.subjectบ้านปลอดบุหรี่en_US
dc.subjectSmoking behavior of Daden_US
dc.subjectSecondhand smokeen_US
dc.subjectSmoke-free homeen_US
dc.titleสถานการณ์บ้านปลอดบุหรี่และพฤติกรรมสูบบุหรี่ของพ่อen_US
dc.title.alternativeThe Situation of Smoke-Free Homesand Father's Smoking Behaviorsen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-siriwan-2557-1.pdf
Size:
2.19 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections