Publication:
ปัจจัยทำนายภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือดในผู้ป่วยอายุรกรรม

dc.contributor.authorลมัย พนมกุลen_US
dc.contributor.authorวิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิชen_US
dc.contributor.authorอัจฉริยา พ่วงแก้วen_US
dc.contributor.authorยงค์ รงค์รุ่งเรืองen_US
dc.contributor.authorLamai Panumgulen_US
dc.contributor.authorWimonlrat Puwarawuttipaniten_US
dc.contributor.authorAutchariya Poungkaewen_US
dc.contributor.authorYoung Rongrungruangen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลen_US
dc.date.accessioned2021-07-21T10:34:25Z
dc.date.available2021-07-21T10:34:25Z
dc.date.created2564-07-21
dc.date.issued2564
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของภาวะโภชนาการ คุณภาพการนอนหลับ ระยะเวลาการให้ยาปฏิชีวนะครั้งที่ 2 และระดับน้ำตาลในเลือด ต่อภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือดในผู้ป่วยอายุรกรรม รูปแบบการวิจัย: การศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยทางอายุรกรรมที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่ามีภาวะการติดเชื้อหรือได้รับการวินิจฉัยว่ามีอาการแสดงของกลุ่มอาการตอบสนองต่อการอักเสบทั่วร่างกาย 2 ใน 4 ข้อ ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยอายุรกรรมในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่ง ในจังหวัดนนทบุรี ระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2563 จำนวน 126 ราย เก็บข้อมูลโดยใช้ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและประวัติการเจ็บป่วย แบบประเมินภาวะโภชนาการ NAF แบบประเมินคุณภาพการนอนหลับของเวอแรนและสไนเดอร์-ฮาลเพิร์น และแบบประเมินความรุนแรงของการติดเชื้อในกระแสเลือดตามเกณฑ์ประเมินอวัยวะล้มเหลว วิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย: การศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย (ร้อยละ 72.2) มีอายุเฉลี่ย 67.87 ปี ภาวะโภชนาการ คุณภาพการนอนหลับ ระยะเวลาการให้ยาปฏิชีวนะครั้งที่ 2 และระดับน้ำตาลในเลือด ต่างสามารถทำนายภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือดที่ระดับนัยสำคัญ .05 เมื่อควบคุมตัวแปรที่เหลือและสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือดในกลุ่มตัวอย่างได้ร้อยละ 56 สรุปและข้อเสนอแนะ: ภาวะโภชนาการ คุณภาพการนอนหลับ ระยะเวลาการให้ยาปฏิชีวนะครั้งที่ 2 และระดับน้ำตาลในเลือด มีผลต่อภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือด พยาบาลควรติดตามระดับน้ำตาลในกระแสเลือดอย่างใกล้ชิดมีการประเมินและส่งเสริมภาวะโภชนาการและคุณภาพการนอนหลับอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งหลีกเลี่ยงความล่าช้าในการให้ยาปฏิชีวนะครั้งที่ 2 เพื่อลดภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือดและภาวะช็อกจากการติดเชื้อen_US
dc.description.abstractPurpose: To investigate the prediction of nutrition status, sleep quality, the 2nd dose antibiotic timing, and blood sugar levels on sepsis in medical patients. Design: correlational predictive design. Methods: The sample included 126 patients aged 18 years and older, who were diagnosed of sepsis by physician or were diagnosed with 2 out of 4 symptoms of systemic inflammatory response syndrome, and were admitted to the medical ward at a tertiary hospital in Nonthaburi province between April and May 2020. The questionnaires included the demographic and history of illness recording form, Nutrition Assessment Form, Veran and Snyder-Halpern Sleep Quality Assessment, and Organ Failure Assessment score. Data were analysed by using descriptive statistics and multiple regression. Main findings: The study findings revealed that the majority of the sample were male, (72.2%), with average age of 67.87 years. Nutritional status, sleep quality, the 2nd dose antibiotic timing and blood sugar levels could individually predict the sepsis at significance level .05 when controlling for the others. All of the study factors could together account for 56% of the variance explained in the sepsis (R2 = .56). Conclusion and recommendations: According to the study findings, nutritional status, sleep quality, the 2nd dose antibiotic timing, and blood sugar levelshave an effect on sepsis. So, nurses should closely monitor blood sugar levels of the patients, continuously assess and promote their nutritional status and sleep quality as well as avoid the delay of 2nd dose antibiotics given to reduce sepsis and septic shock.en_US
dc.identifier.citationวารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 39, ฉบับที่ 3 (ก.ค.- ก.ย. 2564), 74-90en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62991
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectยาปฏิชีวนะen_US
dc.subjectระดับน้ำตาลในเลือดen_US
dc.subjectภาวะโภชนาการen_US
dc.subjectภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือดen_US
dc.subjectคุณภาพการนอนหลับen_US
dc.subjectantibioticsen_US
dc.subjectblood sugaren_US
dc.subjectnutritional statusen_US
dc.subjectsepsisen_US
dc.subjectsleep qualityen_US
dc.subjectวารสารพยาบาลศาสตร์en_US
dc.subjectJournal of Nursing Scienceen_US
dc.subjectNursing Science Journal of Thailanden_US
dc.titleปัจจัยทำนายภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือดในผู้ป่วยอายุรกรรมen_US
dc.title.alternativeFactors Predicting Sepsis in The Medication Patientsen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/247243

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ns-ar-wimolrat-2564.pdf
Size:
653.16 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections