Publication:
พฤติกรรมการออกกําลังกายของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรม กรุงเทพมหานคร

dc.contributor.authorสุพรรณี กาวีละen_US
dc.contributor.authorมณฑา เก่งการพานิชen_US
dc.contributor.authorธราดล เก่งการพานิชen_US
dc.contributor.authorศรัณญา เบญจกุลen_US
dc.contributor.authorSupannee Kawelaen_US
dc.contributor.authorMondha Kengganpanichen_US
dc.contributor.authorTharadol Kengganpanichen_US
dc.contributor.authorSarunya Benjakulen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์en_US
dc.contributor.otherโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์. สถาบันกระดูกสันหลังบำรุงราษฎร์en_US
dc.contributor.otherกระทรวงสาธารณสุข. กรมควบคุมโรค. สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบen_US
dc.date.accessioned2021-03-20T17:21:34Z
dc.date.available2021-03-20T17:21:34Z
dc.date.created2564-03-21
dc.date.issued2556
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวางนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการออกกำลังกายของพนักงาน โรงงานอุตสาหกรรม กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานโรงงาน จำนวนทั้งสิ้น 403 คน คัดเลือกกลุ่ม ตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัว แปรด้วยสถิติไคสแควร์ ผลการวิจัย พบว่า พนักงานโรงงานมีพฤติกรรมออกกำลังกาย ร้อยละ 62.3 เมื่อจำแนกตามการออกกำลังกายที่ ถูกต้องในด้านวิธีการ ความถี่ ระยะเวลาและขั้นตอนการออกกำลังกาย พบว่า พฤติกรรมการออกกำลังกายที่ถูกต้อง อยู่ใน ระดับต่ำ ร้อยละ 36.9 ระดับปานกลาง ร้อยละ 16.1 และระดับสูง ร้อยละ 9.3 โดยพบว่า พนักงานส่วนใหญ่ออกกำลังกาย 1-2 วัน/สัปดาห์ ร้อยละ 63.8 โดยใช้เวลาออกกำลังกาย 11-20 นาที ร้อยละ 45.5 และ 21-30 นาทีขึ้นไป ร้อยละ 36.7 โดยมี การอบอุ่นร่างกายก่อนออกกำลังกายร้อยละ 44.6 และมีการผ่อนคลายกล้ามเนื้อหลังการออกกำลังกาย ร้อยละ 60.8 สำหรับปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออกกำลังกายของพนักงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ประกอบด้วย ปัจจัยนำ ได้แก่ เพศลักษณะงาน ความพอเพียงของรายได้ การรับรู้ความสามารถของตนเองในการ ออกกำลังกายและการรับรู้ภาวะสุขภาพ ปัจจัยเอื้อ ได้แก่ การสนับสนุนจากโรงงานอุตสาหกรรมในการจัดเวลา/ กิจกรรมการออกกำลังกาย การจัดอุปกรณ์/สถานที่ออกกำลังกาย และการมีอุปกรณ์/สถานที่การออกกำลังกาย บริเวณที่พักอาศัย ปัจจัยเสริม ได้แก่ การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลต่าง ๆ ได้แก่ บุคคลในครอบครัว พ่อ แม่/พี่ น้อง เพื่อน เพื่อนร่วมงานและเจ้าหน้าที่สุขภาพ ผู้ประกอบการโรงงานควรมีนโยบายในการส่งเสริมการ ออกกำลังกายในสถานประกอบการ และมีการสนับสนุนทั้งด้านข้อมูลข่าวสาร อุปกรณ์และเวลาen_US
dc.description.abstractThis cross-sectional survey research aimed to study exercise behavior among employees of industries in Bangkok. The sample was 403 industry employees who were selected by multi-stage sampling method. The data were collected by using the questionnaire. The chi-square test was used to analyze relationships between variables. The research results showed that 62.3% of the sample employees had performed exercise behaviors. Regarding the proper exercise performed, as related to type of exercise, frequency, time and steps, most of the sample performed exercise behavior at low level 36.9%, moderate level 16.1% and high level 9.3%, respectively. It was found that 63.8% of them did exercise 1-2 days/week. In regard to time for doing exercise, 45.5% did for 11-20 minutes and 36.7% did for 21-30 minutes. Furthermore, 44.6% did warming up before starting exercise and 60.8%did cooling down after the exercise. The factors that were found to relate with exercise behavior of the sampled employees significantly (p<0.05) were predisposing factors which were composed of gender, work characteristics, adequacy of income, perceived self-efficacy to perform exercise behavior, and perceived health status; enabling factors which were composed of the support provided by their industries for time management/ exercise activities, equipment/places and availability of exercise equipment/places at nearby areas of their residences, and reinforcing factors which were composed of social support from various persons, family members, father, brother/sister, friends, coworkers, and health personnel. The industry owners should have explicit policy for promoting exercise among their employees, as well as providing resources, various equipment and time.en_US
dc.identifier.citationวารสารสุขศึกษา. ปีที่ 36, ฉบับที่ 123 (ม.ค.- เม.ย. 2556), 81-93en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/61342
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectพฤติกรรมการออกกำลังกายen_US
dc.subjectพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมen_US
dc.subjectกรุงเทพมหานครen_US
dc.subjectExercise behavioren_US
dc.subjectIndustry employeeen_US
dc.subjectBangkok Metropolisen_US
dc.titleพฤติกรรมการออกกําลังกายของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรม กรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeExercise Behavior Among Employees of Industries in Bangkoken_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he01.tci-thaijo.org/index.php/muhed/article/view/163713

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-mondha-2556-2.pdf
Size:
2.03 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections