Publication: The Impact of Initial Vascular Access on Long-term Mortality in Hemodialysis Thai Patients
dc.contributor.author | Kanin Thammavaranucupt | en_US |
dc.contributor.author | Chalothorn Taesilapasathit | en_US |
dc.contributor.author | Supawadee Suppadungsuk | en_US |
dc.contributor.author | Napun Sutharattanapong | en_US |
dc.contributor.author | Kotcharat Vipattawat | en_US |
dc.contributor.author | Sethanant Sethakarun | en_US |
dc.contributor.author | Kulapong Jayanama | en_US |
dc.contributor.author | Ittikorn Spanuchart | en_US |
dc.contributor.author | คณิน ธรรมาวรานุคุปต์ | en_US |
dc.contributor.author | ชโลธร แต้ศิลปสาธิต | en_US |
dc.contributor.author | สุภาวดี ทรัพย์ผดุงสุข | en_US |
dc.contributor.author | นภันต์ สุธารัตนพงศ์ | en_US |
dc.contributor.author | กชรัตน์ วิภาสธวัช | en_US |
dc.contributor.author | เศรษฐนันท์ เศรษฐการุณย์ | en_US |
dc.contributor.author | กุลพงษ์ ชัยนาม | en_US |
dc.contributor.author | อิทธิกร สภานุชาต | en_US |
dc.contributor.other | Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Chakri Naruebodindra Medical Institute | en_US |
dc.contributor.other | Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of Medicine | en_US |
dc.contributor.other | Bhumirajanagarindra Kidney Institute Hospital | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-20T09:14:32Z | |
dc.date.available | 2022-07-20T09:14:32Z | |
dc.date.created | 2022-07-20 | |
dc.date.issued | 2022 | |
dc.description.abstract | Background: End-stage kidney disease (ESKD) patients are significantly at risk of higher mortality than the general population. While cardiovascular disease and infection are the major causes of death in ESKD patients on hemodialysis (HD), the impact of vascular access type on long-term mortality in the Thai population remains unclear. Objective: To find an association between types of vascular access and long-term mortality in HD Thai patients. Methods: A multicenter, retrospective cohort of HD patients with a 55-month follow-up (November 2015 to December 2020) was conducted. Patients’ baseline characteristics, and HD profiles were reviewed. A logistic regression model and survival analysis were used to test the association and survival probability of each type of vascular access and mortality. Results: Of 196 HD patients over 55 months, the proportions of initial vascular access included 46.94% of arteriovenous fistula (AVF), 27.55% of arteriovenous graft (AVG), and 25.51% of tunneled dialysis catheter (TDC). The overall mean all-cause mortality in this cohort was 29.1%. Compared with AVF, TDC was associated with increased mortality (adjusted OR, 3.18; 95% CI, 1.37 - 7.37; P < .05) while the association between AVG and mortality was borderline significant (adjusted OR, 2.29; 95% CI, 0.96 - 5.46; P > .05). Conclusions: TDC as initial vascular access for incident HD Thai patients was associated with increased all-cause mortality at 55 months compared with functioning AVF. | en_US |
dc.description.abstract | บทนำ: โรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายเป็นปัญหาสำคัญที่นำไปสู่การเสียชีวิตของผู้ป่วย แม้ว่าสาเหตุการเสียชีวิตของผู้ป่วยส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อ หรือโรคหัวใจ อย่างไรก็ตาม ผลของชนิดหลอดเลือดสำหรับการฟอกเลือดหรือเส้นฟอกเลือดต่ออัตราการเสียชีวิตระยะยาวในคนไทยยังไม่เป็นที่แน่ชัด วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของความสัมพันธ์ระหว่างชนิดของหลอดเลือดหรือเส้นฟอกเลือดกับอัตราการเสียชีวิตระยะยาวของผู้ป่วยไทยที่ได้รับการฟอกเลือด วิธีการศึกษา: การศึกษาย้อนหลังนี้เป็นโครงการศึกษาวิจัยพหุสถาบัน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม รวมระยะเวลา 55 เดือน (พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2563) เก็บบันทึกข้อมูลปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลต่ออัตราการเสียชีวิต ได้แก่ ข้อมูลผู้ป่วย และข้อมูลเกี่ยวกับการฟอกเลือด การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างชนิดของหลอดเลือดหรือเส้นฟอกเลือดกับอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยใช้วิธีวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกส์และการวิเคราะห์ระยะปลอดเหตุการณ์ ผลการศึกษา: ผู้ป่วยทั้งหมด 196 คน เป็นผู้ป่วยที่ใช้หลอดเลือดจริงร้อยละ 46.94 หลอดเลือดเทียมร้อยละ 27.55 และเส้นฟอกเลือดร้อยละ 25.51 พบว่า มีอัตราการเสียชีวิตโดยรวมร้อยละ 29.1 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเสียชีวิตเมื่อเปรียบเทียบกับผู้ป่วยที่ใช้หลอดเลือดจริงคือ ผู้ป่วยที่ใช้เส้นฟอกเลือด (Adjusted OR, 3.18; 95% CI, 1.37 - 7.37; P < .05) ขณะที่ผู้ป่วยใช้หลอดเลือดเทียมมีอัตราการเสียชีวิตเพิ่มขึ้นอย่างไม่มีนัยสำคัญ (Adjusted OR, 2.29; 95% CI, 0.96 - 5.46; P > .05) สรุป: การเริ่มต้นฟอกเลือดด้วยเส้นฟอกเลือด มีความสัมพันธ์กับการเพิ่มขึ้นของอัตราการเสียชีวิตที่ 55 เดือน เมื่อเทียบกับการใช้หลอดเลือดจริงในผู้ป่วยไทยที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม | en_US |
dc.identifier.citation | Ramathibodi Medical Journal. Vol. 45, No. 1 (January-March 2022), 1-10 | en_US |
dc.identifier.issn | 0125-3611 (Print) | |
dc.identifier.issn | 2651-0561 (Online) | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72195 | |
dc.language.iso | eng | en_US |
dc.rights | Mahidol University | en_US |
dc.rights.holder | Chakri Naruebodindra Medical Institute Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University | en_US |
dc.rights.holder | Department of Medicine Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University, | en_US |
dc.rights.holder | Bhumirajanagarindra Kidney Institute Hospital | en_US |
dc.subject | Hemodialysis | en_US |
dc.subject | Mortality | en_US |
dc.subject | Tunneled dialysis catheter | en_US |
dc.subject | Vascular access | en_US |
dc.subject | การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม | en_US |
dc.subject | อัตราการเสียชีวิต | en_US |
dc.subject | สายฟอกเลือดถาวะ | en_US |
dc.subject | ชนิดของหลอดเลือดสำหรับการฟอกเลือด | en_US |
dc.title | The Impact of Initial Vascular Access on Long-term Mortality in Hemodialysis Thai Patients | en_US |
dc.title.alternative | ผลของชนิดหลอดเลือดสำหรับการฟอกเลือดหรือเส้นฟอกเลือดขั้นต้นต่ออัตราการเสียชีวิตระยะยาวในผู้ป่วยคนไทยที่เป็นโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม | en_US |
dc.type | Original Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ramajournal/article/view/255572/174932 |