Publication:
ประสิทธิผลของโปรแกรมการฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยที่ ใส่สายสวนหลอดเลือดดําส่วนกลาง ต่อความรู้ ทัศนคติ ความมั่นใจ และการดูแลของพยาบาล

dc.contributor.authorศุจินทรา บัวชื่นen_US
dc.contributor.authorSujintra Buachuenen_US
dc.contributor.authorผ่องพักตร์ พิทยพันธุ์en_US
dc.contributor.authorPongpak Pittayapanen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลen_US
dc.date.accessioned2019-06-28T08:27:53Z
dc.date.available2019-06-28T08:27:53Z
dc.date.created2562-06-28
dc.date.issued2561
dc.description.abstractวัตถุประสงค์:เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยที่ใส่สายสวนหลอดเลือดดําส่วนกลาง(PICC line) ต่อความรู้ ทัศนคติ ความมั่นใจและความถี่ในการดูแลผู้ป่วยของพยาบาล รูปแบบการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองวิธีดําเนินการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลในโรงพยาบาลศิริราช จํานวน 60 คน ที่ปฏิบัติงานดูแลผู้ป่วยที่ใส่สายสวนหลอดเลือดดําส่วนกลาง แบ่งเป็นกลุ่มที่เข้ารับโปรแกรมการฝึกอบรมเรื่องการดูแลผู้ป่วยที่ใส่สายสวนหลอดเลือดดําส่วนกลางและไม่ได้รับการอบรม จํานวนกลุ่มละ 30 คน เก็บข้อมูลทั้งสองกลุ่มด้วยแบบสอบถามส่วนบุคคล ความรู้ทัศนคติ ความมั่นใจ และความถี่ในการดูแลผู้ป่วยที่ใส่สายสวนหลอดเลือดดําส่วนกลาง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติไคสแควร์และทดสอบค่าทีผลการวิจัย:พบว่า ก่อนเข้ารับโปรแกรมการฝึกอบรม คะแนนความรู้ของกลุ่มที่ได้รับการอบรมและกลุ่มที่ไม่ได้รับการอบรมไม่แตกต่างกันที่นัยสําคัญ .05 ภายหลังได้รับโปรแกรมการฝึกอบรมและกลับไปปฏิบัติงานเป็นระยะเวลา 6 เดือนกลุ่มที่ได้รับการอบรมมีความรู้มากกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการฝึกอบรมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .01) คะแนนทัศนคติและความมั่นใจของกลุ่มที่ได้รับการอบรมมากกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับการอบอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ( p < .05 และ p < .01 ตามลําดับ) และความถี่ในการดูแลผู้ป่วยที่ใส่สายสวนหลอดเลือดดําส่วนกลางพบว่าทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างที่ระดับนัยสําคัญ .05สรุปและข้อเสนอแนะ:โปรแกรมการฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยที่ใส่สายสวนหลอดเลือดดําส่วนกลางส่งผลให้พยาบาลมีความรู้ ทัศนคติ และความมั่นใจเพิ่มขึ้น ดังนั้นควรจัดการอบรมอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างศักยภาพให้พยาบาลดูแลผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพen_US
dc.description.abstractPurpose: The study purpose was to determine the effects of peripherally inserted central catheter training program on knowledge, attitude, confidence and frequency of patient care among nurses. Design: A quasi-experimental research. Methods: The study sample included 60 nurses at Siriraj Hospital who took care of patients with peripherally inserted central catheter. The study subjects were divided into trained nurses who received the program and non-trained nurses who did not receive the program, with 30 each. Data collection was performed by using a demographic data form and a set of questionnaires: knowledge, attitudes, confidence and frequency of peripherally inserted central catheter care. Data were analyzed by chi-square test, paired sample t-test and independent sample t-test. Main findings: For knowledge before receiving the training program, there was no difference between two groups. Average score of trained nurses’ knowledge at 6 months after the training was statistically higher than before the training (p < .01). The average scores of attitude and confidence of the trained group were significantly higher than that of the non-trained group (p < .05 and p < .01, respectively). For the average score of frequency of care, there was no significant difference between two groups. Conclusions and recommendations: Training program on peripherally inserted central catheter patient care can increase knowledge, attitude, and confidence of the nurses. Therefore, continuous training should be provided to enable nurses to effectively provide care for the patients.en_US
dc.description.sponsorshipได้รับเงินทุนสนับสนุนจาก ทุนพัฒนาการวิจัย คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ประเภทการสนับสนุนทุนวิจัยในโครงการพัฒนา งานประจําสู่งานวิจัย (R2R) IO: R01603502en_US
dc.identifier.citationวารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 36, ฉบับที่ 3 (ก.ค. - ก.ย. 2561), 20-33en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44202
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectทัศนคติen_US
dc.subjectความมั่นใจen_US
dc.subjectความรู้en_US
dc.subjectพยาบาลen_US
dc.subjectสายสวนหลอดเลือดดําส่วนกลางen_US
dc.subjectattitudeen_US
dc.subjectconfidenceen_US
dc.subjectknowledgeen_US
dc.subjectnursesen_US
dc.subjectPICC lineen_US
dc.subjectJournal of Nursing Scienceen_US
dc.subjectวารสารพยาบาลศาสตร์en_US
dc.titleประสิทธิผลของโปรแกรมการฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยที่ ใส่สายสวนหลอดเลือดดําส่วนกลาง ต่อความรู้ ทัศนคติ ความมั่นใจ และการดูแลของพยาบาลen_US
dc.title.alternativeEffectiveness of Peripherally Inserted Central Catheter Training Program on Nurses’ Knowledge, Attitude, Confidence and Careen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/146969/108296en_US

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
si-ar-sujintra-2561.pdf
Size:
242.11 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections