Publication: การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่ถ่ายโอนไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัดภาคใต้ ประเทศไทย
dc.contributor.author | กิตติพันธุ์ ช่วยบุญชู | |
dc.contributor.author | ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ | |
dc.contributor.author | วิริณธิ์ กิตติพิชัย | |
dc.contributor.author | Kittipan Chuaybunchoo | |
dc.contributor.author | Chardsumon Prutipinyo | |
dc.contributor.author | Wirin Kittipichai | |
dc.date.accessioned | 2025-04-09T03:52:34Z | |
dc.date.available | 2025-04-09T03:52:34Z | |
dc.date.created | 2568-04-09 | |
dc.date.issued | 2567 | |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง (Cross-sectional descriptive research) นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่ถ่ายโอนไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัดภาคใต้ ประเทศไทย กลุ่มตัวอย่าง คือ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบหลักในงานส่งเสริมสุขภาพ จำนวน 178 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการแจกแจงค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที และความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 55.6 เป็นเพศหญิง มีอายุ เฉลี่ย 50 ปี (SD = 6.38) ร้อยละ 80.9 การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี การปฏิบัติงานมาแล้ว 11 – 20 ปี ร้อยละ 36.5 ได้รับการฝึกอบรมการส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 79.2 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ขนาดกลาง ร้อยละ 67.4 จำนวนบุคลากร 7 – 12 คน ร้อยละ 54.0 อยู่ในพื้นที่กึ่งชนบท ร้อยละ 66.3 ภาพรวมการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพอยู่ในระดับมากที่สุด (Mean = 4.31, SD = 0.44) คุณลักษณะของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบหลักต่างกันมีการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่ถ่ายโอนไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัดภาคใต้ แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่ถ่ายโอนไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัด นำผลไปพัฒนาการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และสนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง | |
dc.description.abstract | The purpose of this cross- sectional descriptive research was to study the health promotion operations in Health Promoting Hospitals transferred to the Southern Provincial Administrative Organization, Thailand.The sample group consisted of 178 officials primarily responsible for health promotion work. Data were collected using questionnaires with a reliability coefficient of 0.98. The data were analyzed for frequency distribution, percentages, means, standard deviations, t-tests, and one-way ANOVA. The research found that 55. 6 percent of the sample were female, with an average age of 50 years ( SD = 6. 38). Of all participants, 80. 9 percent had a bachelor's degree in education, 36.5% had worked for 11-20 years and had received health promotion training. Among the facilities, 79.2 percent were medium-sized health promoting hospitals, 67.4 percent had 7-12 personnel, and 54. 0 percent were in semi-rural areas. Overall, health promotion operations were rated at the highest level (Mean = 4.31, SD = 0.44). The characteristics of the main responsible officials varied. However, the health promotion operations in Health Promoting Hospitals transferred to the Southern Provincial Administrative Organization did not show a statistically significant difference. Health promoting hospitals transferred to the Provincial Administrative Organization should use the research results to develop and support continuous health promotion operations. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข. ปีที่ 10, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2567), 451-464 | |
dc.identifier.issn | 2697-6285 (Online) | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/109392 | |
dc.language.iso | tha | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | สาขาวิชาบริหารสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.rights.holder | ภาควิชาอนามัยครอบครัว คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.subject | การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ | |
dc.subject | การถ่ายโอนภารกิจ | |
dc.subject | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล | |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนจังหวัดภาคใต้ | |
dc.subject | Health promotion operations | |
dc.subject | Transferred to another administrative agency | |
dc.subject | Health Promoting Hospitals | |
dc.subject | the Southern Provincial Administrative Organization | |
dc.title | การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่ถ่ายโอนไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัดภาคใต้ ประเทศไทย | |
dc.title.alternative | Health promotion operations in Health Promoting Hospitals transferred to the Southern Provincial Administrative Organization, Thailand | |
dc.type | Original Article | |
dcterms.accessRights | open access | |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://so05.tci-thaijo.org/index.php/journal_law/article/view/272544/183643 | |
oaire.citation.endPage | 464 | |
oaire.citation.issue | 2 | |
oaire.citation.startPage | 451 | |
oaire.citation.title | วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข | |
oaire.citation.volume | 10 | |
oaire.version | Accepted Manuscript | |
oairecerif.author.affiliation | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข | |
oairecerif.author.affiliation | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอนามัยครอบครัว |
Files
Original bundle
1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
- Name:
- ph-ar-chardsum-2567-7.pdf
- Size:
- 3.66 MB
- Format:
- Adobe Portable Document Format